กฎหมาย ชุด 2 100 ข้อ
1 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557 มีการบังคับใช้วันใด?
  • 1กุมภาพันธ์2556.
  • 13ตุลาคม2557.
  • 2กุมภาพันธ์2556.
  • 15ตุลาคม2557.
  • 14-ต.ค.-57
  • ถูก
    2 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557 มีการให้ใช้บังคับวันใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  • ถูก
  • 1กุมภาพันธ์2556.
  • 15ตุลาคม2557.
  • 2กุมภาพันธ์2556.
  • 13ตุลาคม2557.
  • 3 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557 ผู้ประกอบวิชาชีพทำการโฆษณาอาจกระทําได้ในกรณีใดข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • การประกาศเกียรติคุณเป็นทางการโดยสถาบันวิชาการสมาคมหรือมูลนิธิ.
  • การแสดงผลงานในหน้าที่หรือในการบําเพ็ญประโยชน์สาธารณะ.
  • การแสดงผลงานหรือความก้าวหน้าทางวิชาการเพื่อการพัฒนาธุรกิจของผู้ประกอบวิชาชีพ
  • ถูก
  • การแสดงผลงานหรือความก้าวหน้าทางวิชาการเพื่อการศึกษาของมวลชน.
  • การแสดงผลงานในวารสารทางวิชาการหรือในการประชุมวิชาการ.
  • 4 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557 ผู้ประกอบวิชาชีพสามารถแสดงข้อความเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพของตนที่สถานที่ทําการได้ดังต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • ผู้ประกอบวิชาชีพรักษาโรคใดได้บ้าง
  • ถูก
  • ประเภทของการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย.
  • ชื่อปริญญาวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติหรือหนังสือแสดงคุณวุฒิอย่างอื่นซึ่งตนได้รับจากสภาวิชาชีพการแพทย์.
  • เวลาทําการ.
  • ก.ชื่อนามสกุลและอาจมีคําประกอบชื่อได้เพียงตําแหน่งทางวิชาการฐานันดรศักดิ์ยศและบรรดาศักดิ์เท่านั้น.
  • 5 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557 ผู้ประกอบวิชาชีพสามารถแจ้งข้อความการประกอบวิชาชีพเฉพาะการแสดงที่อยู่ที่ตั้งสถานที่ทําการประกอบวิชาชีพและข้อความอื่นๆดังต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • เว็ปไซต์.
  • อีเมล.
  • ไลน์.
  • ผู้ประกอบวิชาชีพรักษาโรคใดได้บ้าง
  • ถูก
  • หมายเลขโทรศัพท์.
  • 6 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • นายข.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเปิดคลินิกแพทย์แผนไทยไปเรื่อยๆไม่ต้องหาความรู้เพิ่มเติมใดๆ
  • ถูก
  • นายค.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดํารงตนให้สมควรในสังคมโดยธรรมเคารพต่อกฎหมายของบ้านเมือง.
  • นายง.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพไม่ประพฤติหรือกระทําการใดๆอันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ.
  • นายจ.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพโดยยึดถือสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วยและประชาชนเป็นเป้าหมายสูงสุดโดยไม่คํานึงถึงฐานะเชื้อชาติสัญชาติศาสนาสังคมหรือการเมือง.
  • ก.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพขยันศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากหมอพื้นบ้าน.
  • 7 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • นายข.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดํารงตนให้สมควรในสังคมโดยธรรมเคารพต่อกฎหมายของบ้านเมือง.
  • นายก.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพหมั่นศึกษาหาความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการต่างๆเพื่อรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย.
  • นายจ.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพโดยยึดถือสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ป่วยและประชาชนเป็นเป้าหมายสูงสุดโดยไม่คํานึงถึงฐานะเชื้อชาติสัญชาติศาสนาสังคมหรือการเมือง.
  • นายค.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพไม่ประพฤติหรือกระทําการใดๆอันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ.
  • นายง.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพแต่ไม่รับรักษาผู้ที่มีความเห็นต่างทางการเมืองเพราะไม่จําเป็นที่ต้องรักษาก็ได้
  • ถูก
    8 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • นายง.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับที่ดีที่สุด.
  • นายข.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดํารงตนให้สมควรในสังคมโดยธรรมเคารพต่อกฎหมายของบ้านเมือง.
  • นายค.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพไม่ประพฤติหรือกระทําการใดๆอันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ.
  • นายจ.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพรักษาคนไข้ในคลินิกตามความต้องการของตนเป็นหลัก
  • ถูก
  • นายก.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพหมั่นศึกษาหาความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการต่างๆเพื่อรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย.
  • 9 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • นายข.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเพิ่งเปิดคลินิกจึงพยายามชักชวนคนไข้จากคลินิกของเพื่อนผู้ประกอบวิชาชีพมาใช้บริการของตน
  • ถูก
  • นายค.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพประกอบวิชาชีพต้องไม่จูงใจหรือชักชวนให้ผู้ป่วยมารับบริการทางวิชาชีพเพื่อผลประโยชน์ของตน.
  • นายจ.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพไม่ประพฤติหรือกระทําการใดๆอันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ.
  • นายง.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับที่ดีที่สุด.
  • นายก.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพพยายามให้ผู้ป่วยพ้นจากอาการทรมานจากโรคและความพิการต่างๆโดยไม่เรียกร้องสินจ้างรางวัลพิเศษนอกเหนือจากค่าบริการที่ควรได้รับตามปกติ.
  • 10 จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2557ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • นายจ.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพไม่ประพฤติหรือกระทําการใดๆอันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ.
  • นายข.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพไม่ให้หรือรับผลประโยชน์เป็นค่าตอบแทนเนื่องจากการรับหรือส่งผู้ป่วยเพื่อรับบริการทางการแพทย์.
  • นายก.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพพยายามให้ผู้ป่วยพ้นจากอาการทรมานจากโรคและความพิการต่างๆโดยไม่เรียกร้องสินจ้างรางวัลพิเศษนอกเหนือจากค่าบริการที่ควรได้รับตามปกติ.
  • นายง.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพรักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับที่ดีที่สุด.
  • นายค.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเรียกเก็บค่าตอบแทนพิเศษจากการจัดส่งผู้ป่วยให้กับคลินิกของเพื่อน
  • ถูก
    11 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ข้อใดไม่ใช่อํานาจหน้าที่นายกสภาการแพทย์แผนไทยข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • มอบหมายเป็นหนังสือให้กรรมการอื่นปฏิบัติหน้าที่แทนตามที่เห็นสมควร.
  • เป็นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ.
  • บริหารและดําเนินกิจการของสภาการแพทย์แผนไทยให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามมติของคณะกรรมการ.
  • เป็นผู้แทนสภาการแพทย์แผนไทยในกิจการต่างๆ.
  • ควบคุมดูแลทรัพย์สินของสภาการแพทย์แผนไทย
  • ถูก
    12 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ข้อใดไม่ใช่อํานาจหน้าที่เลขาธิการสภาการแพทย์แผนไทยข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ควบคุมรับผิดชอบในงานธุรการทั่วไปของสภาการแพทย์แผนไทย.
  • เป็นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ
  • ถูก
  • ควบคุมดูแลทรัพย์สินของสภาการแพทย์แผนไทย.
  • ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาการแพทย์แผนไทยทุกระดับ.
  • รับผิดชอบในการดูแลรักษาทะเบียนสมาชิกและทะเบียนอื่นๆของสภาการแพทย์แผนไทย.
  • 13 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ใครมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลรับผิดชอบการบัญชีการเงินและการงบประมาณของสภาการแพทย์แผนไทยข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • เหรัญญิก
  • ถูก
  • เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินสํานักงานสภาการแพทย์แผนไทย.
  • หัวหน้าสํานักงานสภาการแพทย์แผนไทย.
  • นายกสภาการแพทย์แผนไทย.
  • เลขาธิการสภาการแพทย์แผนไทย.
  • 14 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 เป็นผู้ช่วยนายกสภาการแพทย์แผนไทยในกิจการอันอยู่ในอํานาจหน้าที่ของสภาการแพทย์แผนไทยตามที่นายกสภาการแพทย์แผนไทยมอบหมายและเป็นผู้ทําการแทนนายกสภาการแพทย์แผนไทยเมื่อนายกสภาการแพทย์แผนไทยและอุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่หนึ่งไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นหน้าที่ของใครข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่2
  • ถูก
  • กรรมการโดยตําแหน่ง.
  • อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่1.
  • ผู้ทรงคุณวุฒิ.
  • เลขาธิการสภาการแพทย์แผนไทย.
  • 15 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใดจึงจะเป็นองค์ประชุมข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น
  • ถูก
  • สองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น.
  • ครึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น.
  • กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด.
  • หนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น.
  • 16 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 มติของที่ประชุมคณะกรรมการกรณีให้สมาชิกพ้นสภาพตามมาตรา14(4)ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • สองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น
  • ถูก
  • หนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น.
  • กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น.
  • ครึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น.
  • กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด.
  • 17 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ใครที่จะเข้าฟังการประชุมและชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการหรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังสภาการแพทย์แผนไทยในเรื่องใดๆก็ได้ข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร.
  • สภานายกพิเศษ
  • ถูก
  • รองนายกรัฐมนตรีที่ดูแลกระทรวงสาธารณสุข.
  • นายกรัฐมนตรี.
  • ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข.
  • 18 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 มติของที่ประชุมคณะกรรมการที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อนจึงจะดําเนินการตามมตินั้นได้ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • การออกข้อบังคับ.
  • การวินิจฉัยชี้ขาดให้พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา45วรรคสาม(4)หรือ(5).
  • การลงนามในใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
  • ถูก
  • การให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา14(4).
  • การกําหนดแผนการดําเนินงานและงบประมาณของสภาการแพทย์แผนไทย.
  • 19 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 กรณีสภานายกพิเศษมิได้ยับยั้งมติเรื่องการกําหนดแผนการดําเนินงานและงบประมาณของสภาการแพทย์แผนไทยภายในระยะกี่วันนับแต่วันที่ได้รับมติให้ถือว่าสภานายกพิเศษเห็นชอบมติข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 45วัน.
  • 10วัน.
  • 15วัน
  • ถูก
  • 7วัน.
  • 30วัน.
  • 20 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ถ้าสภานายกพิเศษยับยั้งมติใดให้คณะกรรมการประชุมพิจารณาอีกครั้งหนึ่งภายในระยะเวลากี่วันนับแต่วันที่ได้รับการยับยั้งข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 45วัน.
  • 7วัน.
  • 15วัน.
  • 10วัน.
  • 30วัน
  • ถูก
    21 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ข้อยกเว้นกรณีมิให้ผู้ใดกระทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือประยุกต์ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • หมอพื้นบ้านซึ่งมีความรู้ความสามารถในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่นด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามวัฒนธรรมของชุมชนที่สืบทอดกันมานานไม่น้อยกว่ายี่สิบปีเป็นที่นิยมยกย่องจากชุมชนโดยมีคณะกรรมการหมู่บ้านหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอให้หน่วยงานที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดเป็นผู้รับรองทั้งนี้ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  • ถูก
  • นักเรียนนักศึกษาหรือผู้รับการฝึกอบรมซึ่งทําการฝึกหัดหรือฝึกอบรมในความควบคุมของสถาบันการศึกษาวิชาชีพการแพทย์แผนไทยของรัฐหรือที่ได้รับอนุญาตจากทางราชการให้จัดตั้งสถาบันทางการแพทย์ของรัฐหรือสถาบันการศึกษาหรือสถาบันทางการแพทย์อื่นที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองทั้งนี้ภายใต้ความควบคุมของเจ้าหน้าที่ผู้ฝึกหัดหรือผู้ให้การฝึกอบรมซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์.
  • บุคคลซึ่งกระทรวงทบวงกรมเทศบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตําบลกรุงเทพมหานครเมืองพัทยาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษอื่นตามที่มีกฎหมายกําหนดหรือสภากาชาดไทยมอบหมายให้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทั้งนี้ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
  • การกระทําต่อตนเอง.
  • การช่วยเหลือแก่ผู้ป่วยตามหน้าที่ตามกฏหมายตามหลักมนุษยธรรมหรือตามธรรมจรรยาโดยมิได้รับประโยชน์ตอบแทน. ซึ่งมีความรู้ความสามารถในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่นด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามวัฒนธรรมของชุมชนที่สืบทอดกันมานานไม่น้อยกว่า สิบปี เป็นที่นิยมยกย่องจากชุมชนโดยมีคณะกรรมการหมู่บ้านหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสนอให้หน่วยงานที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดเป็นผู้รับรอง ทั้งนี้ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

  • 22 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ใครมีสิทธิในการกล่าวหาผู้ประกอบวิชาชีพฯข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • บุคคลซึ่งได้รับความเสียหาย
  • ถูก
  • บุคคลอื่นและกรรมการ.
  • กรรมการ.
  • บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายและกรรมการ.
  • บุคคลอื่น.
  • 23 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ใครมีสิทธิในการกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพฯข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • บุคคลซึ่งได้รับความเสียหาย.
  • บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายและกรรมการ.
  • บุคคลอื่น.
  • กรรมการ.
  • บุคคลอื่นและกรรมการ
  • ถูก
    24 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 สิทธิในการกล่าวหาหรือกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพฯสิ้นสุดลงเมื่อใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • พ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดและรู้ตัวผู้ประพฤติผิดทั้งนี้ไม่เกินสามปีนับแต่วันที่มีการประพฤติผิด
  • ถูก
  • พ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดและรู้ตัวผู้ประพฤติผิดทั้งนี้ไม่เกินสี่ปีนับแต่วันที่มีการประพฤติผิด.
  • พ้นหนึ่งปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดและรู้ตัวผู้ประพฤติผิดทั้งนี้ไม่เกินสองปีนับแต่วันที่มีการประพฤติผิด.
  • พ้นหกเดือนนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดและรู้ตัวผู้ประพฤติผิดทั้งนี้ไม่เกินสามปีนับแต่วันที่มีการประพฤติผิด.
  • พ้นสองปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิดและรู้ตัวผู้ประพฤติผิดทั้งนี้ไม่เกินสามปีนับแต่วันที่มีการประพฤติผิด.
  • 25 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 เมื่อสภารับเรื่องการกล่าวหากล่าวโทษแล้วให้ใครเสนอเรื่องต่อใครในระยะเวลาเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • เลขาธิการเสนอเรื่องต่อประธานอนุกรรมการสอบสวนในระยะเวลา30วัน.
  • เลขาธิการเสนอเรื่องต่อประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณในระยะเวลา7วัน.
  • เลขาธิการเสนอเรื่องต่อประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณในระยะเวลา30วัน.
  • เลขาธิการเสนอเรื่องต่อประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณในระยะเวลา15วัน
  • ถูก
  • เลขาธิการเสนอเรื่องต่อประธานอนุกรรมการสอบสวนในระยะเวลา15วัน.
  • 26 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ใครมีอํานาจหน้าที่สืบสวนหาข้อเท็จจริงในเรื่องที่ได้รับตามมาตรา38แล้วทํารายงานพร้อมทั้งความเห็นเสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • คณะอนุกรรมการสืบสวน.
  • คณะอนุกรรมการการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย.
  • คณะอนุกรรมการการประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทยประยุกต์.
  • คณะอนุกรรมการสอบสวน.
  • คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณ
  • ถูก
    27 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ใครมีอํานาจหน้าที่สอบสวนสรุปผลการสอบสวนและเสนอสํานวนการสอบสวนพร้อมทั้งความเห็นต่อคณะกรรมการเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • คณะอนุกรรมการสืบสวน.
  • คณะอนุกรรมการสอบสวน
  • ถูก
  • คณะอนุกรรมการการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย.
  • คณะอนุกรรมการการประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทยประยุกต์.
  • คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณ.
  • 28 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 เมื่อคณะกรรมการได้รับรายงานและความเห็นของคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณแล้วให้คณะกรรมการพิจารณารายงานและความเห็นดังกล่าวแล้วมีมติอย่างใดอย่างหนึ่งข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • ให้ยกข้อกล่าวหาในกรณีที่ข้อกล่าวหานั้นไม่มีมูล.
  • ให้ยกข้อกล่าวโทษในกรณีที่ข้อกล่าวโทษนั้นไม่มีมูล.
  • ให้คณะอนุกรรมการสอบสวนทําการสอบสวนในกรณีที่เห็นว่าข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษนั้นมีมูล.
  • ให้คณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทยวินิจฉัยชี้ขาด
  • ถูก
  • ให้คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณสืบสวนหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อเสนอให้คณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทยพิจารณา.
  • 29 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวนข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • นายกสภาการแพทย์แผนไทย.
  • คณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทย
  • ถูก
  • ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
  • เลขาธิการสภาการแพทย์แผนไทย.
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
  • 30 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 คณะอนุกรรมการสอบสวนประกอบด้วยประธานและอนุกรรมการจํานวนรวมกันไม่น้อยกว่าเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ประธานคนหนึ่งและอนุกรรมการมีจํานวนรวมกันไม่น้อยกว่าเท่าใดก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสม.
  • ประธานคนหนึ่งและอนุกรรมการมีจํานวนรวมกันไม่น้อยกว่า5คน.
  • ประธานคนหนึ่งและอนุกรรมการมีจํานวนรวมกันไม่น้อยกว่า4คน.
  • ประธานคนหนึ่งและอนุกรรมการมีจํานวนรวมกันไม่น้อยกว่า6คน.
  • ประธานคนหนึ่งและอนุกรรมการมีจํานวนรวมกันไม่น้อยกว่า3คน
  • ถูก
    31 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 คณะอนุกรรมการสอบสวนมีระยะเวลาในการดําเนินการเท่าใดและถ้ามีเหตุจําเป็นไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จคณะกรรมการพิจารณาขยายได้ไม่เกินกี่วันข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ระยะเวลาในการดําเนินการคือสิบห้าวันขยายได้ไม่เกินสามสิบวัน.
  • ระยะเวลาในการดําเนินการที่คณะกรรมการกําหนดขยายได้ไม่เกินสิบห้าวัน.
  • ระยะเวลาในการดําเนินการคือสามสิบวันขยายได้ไม่เกินสามสิบวัน.
  • ระยะเวลาในการดําเนินการที่คณะกรรมการกําหนดขยายได้ไม่เกินเจ็ดวัน.
  • ระยะเวลาในการดําเนินการที่คณะกรรมการกําหนดขยายได้ไม่เกินสามสิบวัน
  • ถูก
    32 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556คณะอนุกรรมการสอบสวนสามารถมีได้กี่คณะข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 4คณะ.
  • 3คณะ.
  • 2คณะ.
  • อาจแต่งตั้งเกินกว่าหนึ่งคณะก็ได้
  • ถูก
  • 1คณะ.
  • 33 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณสามารถมีได้กี่คณะข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 3คณะ.
  • 2คณะ.
  • อาจแต่งตั้งเกินกว่าหนึ่งคณะก็ได้
  • ถูก
  • 4คณะ.
  • 1คณะ.
  • 34 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานอะไรข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายแพ่ง.
  • เจ้าพนักงานตามกฏหมายสิทธิมนุษย์ชน.
  • เจ้าพนักงานตามกฎหมายเอกชน.
  • เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
  • ถูก
  • เจ้าพนักงานตามกฏหมายมหาชน.
  • 35 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการสอบสวนให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานอะไรข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายแพ่ง.
  • เจ้าพนักงานตามกฎหมายเอกชน.
  • เจ้าพนักงานตามกฏหมายสิทธิมนุษย์ชน.
  • เจ้าพนักงานตามกฏหมายมหาชน.
  • เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
  • ถูก
    36 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณและคณะอนุกรรมการสอบสวนมีอํานาจอะไรข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • มีอํานาจเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการดําเนินการตามพระราชบัญญัติได้.
  • มีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณเพิ่มเติมได้.
  • มีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวนเพิ่มเติมได้.
  • มีอํานาจจับกุมบุคคลที่กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติได้.
  • มีอํานาจเรียกบุคคลใดๆมาให้ถ้อยคําและมีหนังสือแจ้งให้บุคคลใดๆส่งเอกสารหรือวัตถุ
  • ถูก
    37 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ให้ใครมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษพร้อมทั้งส่งสําเนาเรื่องที่กล่าวหาหรือกล่าวโทษให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ประธานอนุกรรมการสอบสวน
  • ถูก
  • เลขาธิการสภาการแพทย์แผนไทย.
  • ประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณ.
  • อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่1.
  • นายกสภาการแพทย์แผนไทย.
  • 38 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 การมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษพร้อมทั้งส่งสําเนาเรื่องที่กล่าวหาหรือกล่าวโทษให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษมีระยะเวลาไม่น้อยกว่ากี่วันก่อนวันเริ่มทําการสอบสวนข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 7วัน.
  • 30วัน.
  • 15วัน
  • ถูก
  • 90วัน.
  • 3วัน.
  • 39 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษมีสิทธิทําคําชี้แจงหรือนําพยานหลักฐานใดๆให้ยื่นต่อประธานอนุกรรมการสอบสวนภายในกี่วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 90วัน.
  • 3วัน.
  • 7วัน.
  • 30วัน.
  • 15วัน
  • ถูก
    40 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 เมื่อคณะอนุกรรมการสอบสวนทําการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้วให้เสนอสํานวนการสอบสวนพร้อมทั้งความเห็นต่อคณะกรรมการภายในกี่วันนับแต่วันที่ทําการสอบสวนเสร็จสิ้นข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 90วัน.
  • 3วัน.
  • 15วัน
  • ถูก
  • 30วัน.
  • 7วัน.
  • 41 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 เมื่อคณะกรรมการได้รับสํานวนการสอบสวนและความเห็นของคณะอนุกรรมการสอบสวนแล้วให้คณะกรรมการพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกี่วันนับแต่วันที่ได้รับสํานวนการสอบสวนข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 7วัน.
  • 30วัน
  • ถูก
  • 90วัน.
  • 3วัน.
  • 15วัน.
  • 42 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 คณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทยมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดได้กี่อย่างข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 1อย่าง.
  • 3อย่าง.
  • 2อย่าง.
  • 4อย่าง.
  • 5อย่าง
  • ถูก
    43 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 อํานาจวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทยข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • ภาคทัณฑ์.
  • ยกข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษ.
  • พักใช้ใบอนุญาตมีกําหนดเวลาตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกินสามปี
  • ถูก
  • เพิกถอนใบอนุญาต.
  • ว่ากล่าวตักเตือน.
  • 44 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ให้ใครเป็นผู้แจ้งคําสั่งสภาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา45ไปยังผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษเพื่อทราบข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่1.
  • นายกสภาการแพทย์แผนไทย.
  • ประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณ.
  • เลขาธิการสภาการแพทย์แผนไทย
  • ถูก
  • ประธานอนุกรรมการสอบสวน.
  • 45 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 คําสั่งสภาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา45ไปยังผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษเพื่อทราบต้องแจ้งภายในกี่วันนับแต่วันที่มีคําสั่งดังกล่าวข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 7วัน
  • ถูก
  • 3วัน.
  • 90วัน.
  • 15วัน.
  • 30วัน.
  • 46 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 นอกจากแจ้งคําสั่งสภาการแพทย์แผนไทยตามมาตรา45ไปยังผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษเพื่อทราบแล้วยังต้องดําเนินการอะไรด้วยข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ให้บันทึกคําสั่งนั้นไปที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.
  • ให้ส่งคําสั่งนั้นไปที่กระทรวงสาธารณสุข.
  • ให้บันทึกคําสั่งนั้นไปที่ระบบฐานข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข.
  • ให้ส่งคําสั่งนี้ไปตามสื่อมวลชน.
  • ให้บันทึกข้อความตามคําสั่งนั้นไว้ในทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพพร้อมทั้งแจ้งผลให้ผู้กล่าวหาหรือผู้กล่าวโทษ
  • ถูก
    47 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกได้เมื่อพ้นกี่ปีนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 4ปี.
  • 1ปี.
  • 2ปี
  • ถูก
  • 3ปี.
  • 5ปี.
  • 48 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 เมื่อคณะกรรมการได้พิจารณาคําขอรับใบอนุญาตและปฏิเสธการออกใบอนุญาตผู้นั้นจะยื่นคําขอรับใบอนุญาตในครั้งต่อๆไปได้อีกต่อเมื่อสิ้นระยะเวลากี่ปีนับแต่วันที่คณะกรรมการปฏิเสธการออกใบอนุญาตข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 2ปี.
  • 5ปี.
  • 1ปี
  • ถูก
  • 4ปี.
  • 3ปี.
  • 49 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ในการปฏิบัติหน้าที่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปในสถานที่ทําการของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์เพื่อตรวจสอบหรือควบคุมต้องเข้าในเวลาใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • เวลา10.00–19.00น..
  • เวลา08.00–18.30น..
  • ในเวลาทําการของสถานที่นั้น
  • ถูก
  • เวลา09.00–18.00น..
  • เวลา08.00–17.00น..
  • 50 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยกระทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 51 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ห้ามมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยซึ่งอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือแสดงด้วยวิธีใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 52 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้รับปริญญาประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตรในวิชาชีพการแพทย์แผนไทยใช้คําหรือข้อความด้วยอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศว่าแพทย์แผนไทยหรือใช้อักษรย่อของคําดังกล่าวหรือใช้คําแสดงวุฒิการศึกษาทางแพทย์แผนไทยหรือใช้อักษรย่อของวุฒิดังกล่าวประกอบกับชื่อหรือชื่อสกุลของตนหรือใช้คําหรือข้อความอื่นใดที่มีความหมายเช่นเดียวกันซึ่งทําให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 53 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ห้ามมิให้ผู้ใดใช้คําหรือข้อความที่แสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือแสดงด้วยวิธีใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิเป็นผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 54 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ให้ผู้ซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา14(3)และ(4)ส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ทราบการสิ้นสุดสมาชิกภาพผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 55 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ผู้ใดไม่อํานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 56 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคําหรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆตามที่เรียกหรือแจ้งให้ส่งตามมาตรา42โดยไม่มีเหตุอันควรต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 57 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
  • ถูก
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ.
  • 58 จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2556 บทเฉพาะกาลในระยะเริ่มแรกที่ยังมิได้เลือกกรรมการให้ใครดํารงตําแหน่งนายกสภาการแพทย์แผนไทยข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
  • เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา.
  • เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
  • อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.
  • ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • ถูก
    59 จากกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมสําหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์พ.ศ.2558ค่าขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตฉบับละเท่าไร
    ข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 1,000บาท
  • ถูก
  • 2,000บาท.
  • 200บาท.
  • 500บาท.
  • 1,500บาท.
  • 60 จากกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมสําหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์พ.ศ.2558ค่าต่ออายุใบอนุญาตฉบับละเท่าไร
    ข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 1,000บาท.
  • 2,000บาท.
  • 1,500บาท.
  • 500บาท
  • ถูก
  • 200บาท.
  • 61 จากพรบ.สถานพยาบาลกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อใดข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • เป็นบุคคลล้มละลาย.
  • รัฐมนตรีให้ออก.
  • ลาออก.
  • ได้รับโทษจําคุกโดยความผิดโดยประมาทหรือลหุโทษ
  • ถูก
  • พ้นจากการเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ.
  • 62 จากพรบ.สถานพยาบาลคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระดํารงตําแหน่งเท่าใด?
  • 2ปีไม่เกิน3วาระติดต่อกัน.
  • 3ปี.
  • 2ปีไม่เกิน2วาระติดต่อกัน.
  • 2ปี.
  • 3ปีไม่เกิน2วาระติดต่อกัน
  • ถูก
    63 จากพรบ.สถานพยาบาลคณะกรรมการสถานพยาบาลมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • การควบคุมหรือการพิจารณาเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการดําเนินการสถานพยาบาล.
  • การกําหนดผู้ป่วยฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยการแพทย์ฉุกเฉินโรคติดต่ออันตรายโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ.
  • การอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลการดําเนินการสถานพยาบาลการปิดสถานพยาบาลหรือการเพิกถอนใบอนุญาต.
  • การกําหนดลักษณะและมาตรฐานหรือการรับรองคุณภาพของยาที่ใช้ในสถานพยาบาล
  • ถูก
  • การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริการของสถานพยาบาล.
  • 64 จากพรบ.สถานพยาบาลการประชุมของคณะกรรมการสถานพยาบาลต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใดของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุมข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด.
  • ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมด.
  • ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด.
  • ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
  • ถูก
  • ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าสองในสี่ของจํานวนกรรมการทั้งหมด.
  • 65 จากพรบ.สถานพยาบาลสถานพยาบาลมีกี่ประเภทและอะไรบ้างข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 2ประเภทได้แก่สถานพยาบาลประเภทการแพทย์แผนไทยและสถานพยาบาลประเภทการแพทย์แผนปัจจุบัน.
  • 3ประเภทได้แก่สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ดูแลทั่วไปสถานพยาบาลประเภทการแพทย์แผนไทยและสถานพยาบาลประเภทการแพทย์แผนปัจจุบัน.
  • 2ประเภทได้แก่สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนและสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
  • ถูก
  • 1ประเภทได้แก่สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ดูแลทั่วไป.
  • 3ประเภทได้แก่สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ดูแลทั่วไปสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนและสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน.
  • 66 จากพรบ.สถานพยาบาลใครเป็นผู้มีอํานาจประกาศกําหนดมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาลข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
  • คณะกรรมการสถานพยาบาล.
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถานพยาบาล
  • ถูก
  • อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.
  • ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
  • 67 จากพรบ.สถานพยาบาลคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติที่ถูกต้อง?
  • มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย.
  • เป็นโรคพิษสุรา
  • ถูก
  • ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาหรือคําสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายถึงที่สุดให้จําคุกเว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ.
  • ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย.
  • มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์.
  • 68 จากพรบ.สถานพยาบาลในการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลของผู้อนุญาตผู้ขอรับใบอนุญาตได้จัดให้มีอะไรบ้างข้อใดไม่ถูกต้องที่สุด? 
  • มีเครื่องมือเครื่องใช้เวชภัณฑ์หรือยานพาหนะที่จําเป็นประจําสถานพยาบาลนั้นตามชนิดและจํานวนที่กําหนดในกฎกระทรวงมีเครื่องมือเครื่องใช้เวชภัณฑ์หรือยานพาหนะที่จําเป็นประจําสถานพยาบาลนั้นตามชนิดและจํานวนที่กําหนดในกฎกระทรวง.
  • มีป้ายชื่อสถานพยาบาลต้องเป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
  • ถูก
  • มีสถานพยาบาลตามลักษณะที่กําหนดในกฎกระทรวง.
  • มีแผนงานการจัดตั้งสถานพยาบาลที่ได้รับอนุมัติแล้วตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง.
  • มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลตามวิชาชีพและจํานวนที่กําหนดในกฎกระทรวง.
  • 69 จากพรบ.สถานพยาบาลถ้าใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลจดทะเบียนวันที่25ธ.ค.2542ให้ใช้ได้จนถึงวันที่เท่าไรข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • วันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สองนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต.
  • 25ธ.ค.51.
  • 31ธ.ค.52.
  • 31-ธ.ค.-51
  • ถูก
  • 25ธ.ค.52.
  • 70 จากพรบ.สถานพยาบาลผู้รับอนุญาตต้องชําระค่าธรรมเนียมตามหลักเกณฑ์วิธีการและอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาที่ยังประกอบกิจการถ้ามิได้ชําระค่าธรรมเนียมภายในเวลาที่กําหนดให้ชําระเงินเพิ่มอีกร้อยละเท่าใดต่อเดือนข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ร้อยละ2ต่อเดือน.
  • ร้อยละ4ต่อเดือน.
  • ร้อยละ3ต่อเดือน.
  • ร้อยละ6ต่อเดือน.
  • ร้อยละ5ต่อเดือน
  • ถูก
    71 จากพรบ.สถานพยาบาลถ้าผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลต้องแสดงความจํานงต่อผู้อนุญาตภายในกี่วันนับแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตายข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 15วัน.
  • 90วัน.
  • 60วัน.
  • 7วัน.
  • 30วัน
  • ถูก
    72 จากพรบ.สถานพยาบาลในการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลของผู้อนุญาตจะต้องปรากฏว่าผู้ขอรับใบอนุญาตต้องมีคุณสมบัติดังนี้ข้อใดไม่ถูกต้องที่สุด?
  • เป็นผู้ประกอบวิชาชีพแต่บุคคลเช่นว่านี้จะได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ดําเนินการตามประเภทใดหรือสถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์ใดให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง.
  • ต้องเป็นผู้มีใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลด้วยเสมอ
  • ถูก
  • ในกรณีที่เป็นผู้ดําเนินการประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนอยู่แล้วแห่งหนึ่งจะอนุญาตให้เป็นผู้ดําเนินการประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนอีกแห่งหนึ่งไม่ได้.
  • ไม่เป็นผู้ดําเนินการอยู่ก่อนแล้วสองแห่ง.
  • เป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดยใกล้ชิด.
  • 73 จากพรบ.สถานพยาบาลผู้ดําเนินการไม่สามารถเป็นผู้ดําเนินการได้2แห่งยกเว้นข้อใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • เป็นผู้ดําเนินการประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ไม่รับค้างคืน2แห่งสลับไปมา.
  • เป็นผู้ดําเนินการประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน2แห่งสลับไปมา.
  • เป็นผู้ดําเนินการประเภทโรงพยาบาล2แห่งสลับไปมา.
  • เป็นผู้ดําเนินการประเภทคลินิก2แห่งสลับไปมา.
  • เป็นผู้ดําเนินการประเภทที่รับผู้ป่วยรับค้างคืนและไม่รับค้างคืนคนละแห่งกัน
  • ถูก
    74 จากพรบ.สถานพยาบาลในสถานพยาบาลแห่งหนึ่งๆผู้ถือใบอนุญาตใดที่สามารถจะเป็นบุคคลคนเดียวกันก็ได้ข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
  • ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาล.
  • ใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
  • ไม่สามารถเป็นบุคคลเดียวกันได้เลย.
  • ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
  • ถูก
    75 จากพรบ.สถานพยาบาลถ้าใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลจดทะเบียนวันที่25ธ.ค.2542ให้ใช้ได้จนถึงวันที่เท่าไรข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 25ธ.ค.43.
  • 25ธ.ค.44.
  • 31ธ.ค.44.
  • วันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต.
  • 31-ธ.ค.-43
  • ถูก
    76 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ข้อใดไม่ได้เป็นกรรมการโดยตำแหน่งในคณะกรรมการนโยบาย?
  • ประธานสภาผู้แทนราษฎร
  • ถูก
  • นายกสภาเภสัชกรรม.
  • นายกแพทยสภา.
  • นายกสภาการแพทย์แผนไทย.
  • ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.
  • 77 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ใครเป็นเลขานุการในคณะกรรมการนโยบายข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
  • รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา.
  • อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
  • ถูก
  • รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรซึ่งอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร.
  • เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา.
  • 78 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายมีวาระการดำรงตำแหน่งเท่าใด?
  • คราวละสามปีติดต่อกันกี่วาระก็ได้.
  • คราวละสองปีติดต่อกันกี่วาระก็ได้.
  • คราวละสามปีติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
  • ถูก
  • คราวละสามปีติดต่อกันเกินสามวาระไม่ได้.
  • คราวละสองปีติดต่อกันเกินสามวาระไม่ได้.
  • 79 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ข้อใดไม่ใช่หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการนโยบาย?
  • ให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะในเรื่องที่เกี่ยวกับงบประมาณหรือเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและแผนยุทธศาสตร์.
  • กำหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพรแห่งชาติทุกห้าปี.
  • ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ปฏิบัติตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์.
  • ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้.
  • กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาในเชิงนโยบายที่เกิดจากสถานพยาบาลแพทย์แผนไทย
  • ถูก
    80 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562การประชุมคณะกรรมการนโยบายต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใดจึงจะเป็นองค์ประชุม?
  • มาจำนวนเท่าใดก็ได้ของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
  • ถูก
  • ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • 81 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562คณะกรรมการนโยบายมีการประชุมอย่างน้อยปีละกี่ครั้ง?
  • 4ครั้ง.
  • 5ครั้ง.
  • 1ครั้ง.
  • 3ครั้ง.
  • 2ครั้ง
  • ถูก
    82 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ใครเป็นประธานในคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพรข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • ถูก
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
  • นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย.
  • อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
  • 83 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562กรรมการโดยตำแหน่งในคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพรมีกี่คนข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 13คน.
  • 12คน.
  • 11คน.
  • 14คน
  • ถูก
  • 15คน.
  • 84 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ใครเป็นเลขานุการในคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพรข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรซึ่งอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร.
  • รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา
  • ถูก
  • รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
  • อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
  • เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา.
  • 85 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพรมีวาระการดำรงตำแหน่งเท่าใด?
  • คราวละสองปีติดต่อกันกี่วาระก็ได้.
  • คราวละสองปีติดต่อกันเกินสามวาระไม่ได้.
  • คราวละสามปีติดต่อกันเกินสามวาระไม่ได้.
  • คราวละสามปีติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
  • ถูก
  • คราวละสามปีติดต่อกันกี่วาระก็ได้.
  • 86 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562การประชุมคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพรต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใดจึงจะเป็นองค์ประชุม?
  • ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
  • ถูก
  • ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • มาจำนวนเท่าใดก็ได้ของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • 87 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตผลิตภัณฑ์สมุนไพรมิใช้บังคับกับใครยกเว้นข้อใด?
  • การนำเข้าผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อใช้เฉพาะตัวโดยมีปริมาณตามความจำเป็นที่ใช้ได้ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวัน
  • ถูก
  • การขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรหรือการขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่แบ่งบรรจุตาม(๓)เพื่อใช้สำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายของตนโดยผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือหมอพื้นบ้านซึ่งได้รับการรับรองตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย.
  • การแบ่งบรรจุผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อใช้สำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายของตนโดยผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือหมอพื้นบ้านซึ่งได้รับการรับรองตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย.
  • การปรุงยาแผนไทยสำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายของตนโดยผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์.
  • การผลิตนำเข้าหรือขายผลิตภัณฑ์สมุนไพรโดยกระทรวงทบวงกรมสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเพื่อการศึกษาด้านเภสัชศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยหรือด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์.
  • 88 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ผู้ขออนุญาตมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามข้อใดไม่ถูกต้อง?
  • มีผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการและไม่เป็นโรคตามที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกาศกำหนด.
  • มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปี
  • ถูก
  • มีสถานที่ผลิตนำเข้าขายหรือเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและมีอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ตามที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกาศกำหนด.
  • เป็นเจ้าของกิจการที่ประสงค์จะขอรับใบอนุญาต.
  • มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย.
  • 89 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ใบอนุญาตเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สมุนไพรแบ่งเป็นกี่ประเภทอะไรบ้างข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 3ประเภทใบอนุญาตปลูกผลิตภัณฑ์สมุนไพรใบอนุญาตส่งออกผลิตภัณฑ์สมุนไพรใบอนุญาตขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร.
  • 1ประเภทใบอนุญาตผลิตภัณฑ์สมุนไพร.
  • 3ประเภทใบอนุญาตผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรใบอนุญาตนำเข้าผลิตภัณฑ์สมุนไพรใบอนุญาตขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • ถูก
  • 2ประเภทใบอนุญาตผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรใบอนุญาตขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร.
  • 2ประเภทใบอนุญาตผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรใบอนุญาตนำเข้าผลิตภัณฑ์สมุนไพร.
  • 90 จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพรพ.ศ.2562ใบอนุญาตมีอายุเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • มีอายุสามปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต.
  • มีอายุหนึ่งปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต.
  • มีอายุสี่ปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต.
  • มีอายุห้าปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต
  • ถูก
  • มีอายุสองปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญาต.
  • 91 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542ข้อใดเป็นกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย?
  • เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม.
  • เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา.
  • อธิบดีกรมวิชาการเกษตร.
  • อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
  • ถูก
  • อธิบดีกรมป่าไม้.
  • 92 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีจำนวนเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • จำนวนหนึ่งในสี่ของจำนวนกรรมการโดยตำแหน่ง.
  • จำนวนสองในสามของจำนวนกรรมการโดยตำแหน่ง.
  • จำนวนครึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการโดยตำแหน่ง.
  • จำนวนเท่ากับกรรมการโดยตำแหน่ง
  • ถูก
  • จำนวนหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการโดยตำแหน่ง.
  • 93 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542กรรมการผูกทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละเท่าใดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • คราวละ1ปีเกิน2วาระติดต่อกันไม่ได้.
  • คราวละ1ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง.
  • คราวละ2ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง
  • ถูก
  • คราวละ3ปีเกิน2วาระติดต่อกันไม่ได้.
  • คราวละ2ปีเกิน1วาระติดต่อกันไม่ได้.
  • 94 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย?
  • วางระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นอุทธรณ์และวิธีพิจารณาอุทธรณ์การจัดทำทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยการบริหารการจัดหาผลประโยชน์.
  • พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งหรือคำวินิจฉัยของนายทะเบียนหรือของผู้อนุญาต.
  • กำหนดมาตรการเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและประสานงานระหว่างส่วนราชการรัฐวิสาหกิจชุมชนเกี่ยวกับการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร.
  • แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
  • ถูก
  • ส่งเสริมและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร.
  • 95 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใดจึงจะเป็นองค์ประชุมข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • มาจำนวนเท่าใดก็ได้ของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
  • ถูก
  • ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนกรรมการทั้งหมด.
  • 96 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542ใครดํารงตําแหน่งนายทะเบียนกลางข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • อธิบดีกรมวิชาการเกษตร.
  • อธิบดีกรมป่าไม้.
  • อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา.
  • อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
  • ถูก
  • อธิบดีกรมปศุสัตว์.
  • 97 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542ใครดํารงตําแหน่งนายทะเบียนจังหวัดข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ผู้ว่าราชการจังหวัด.
  • เกษตรจังหวัด.
  • ปศุสัตว์จังหวัด.
  • นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
  • ถูก
  • ผู้ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย.
  • 98 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542หน่วยงานใดมีหน้าที่รวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเกี่ยวกับตํารับยาแผนไทยและตําราการแพทย์แผนไทยทั่วราชอาณาจักรเพื่อจัดทําทะเบียนข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • กรมวิชาการเกษตร.
  • กรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
  • ถูก
  • กรมป่าไม้.
  • กรมทรัพย์สินทางปัญญา.
  • กรมปศุสัตว์.
  • 99 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยมีกี่ประเภทข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • 1 ประเภท.
  • 5 ประเภท.
  • 4 ประเภท.
  • 3 ประเภท
  • ถูก
  • 2 ประเภท.
  • 100 จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยพ.ศ.2542ข้อใดไม่จัดอยู่ในประเภทของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยข้อใดถูกต้องที่สุด?
  • ตํารับยาแผนไทยทั่วไปหรือตําราการแพทย์แผนไทยทั่วไป.
  • ตําราการแพทย์แผนไทยส่วนบุคคล.
  • ตํารับยาแผนไทยส่วนบุคคล.
  • ตํารับยาแผนไทยของชาติหรือตําราการแพทย์แผนไทยของชาติ.
  • ตํารากรรมวิธีการปลูกตัวยาแผนไทยของหมอพื้นบ้าน
  • ถูก