| กฎหมาย ชุด 3 100 ข้อ | |
1 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 การปฏิบัติต่อผู้ร่วมวิชาชีพ ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| ต้องแนะนำผู้ป่วยของผู้ประกอบวิชาชีพอื่นที่ไม่มีความสามารถมารักษากับตนเองแทน | ถูก |
| ต้องไม่เอาผลงานของผู้ประกอบวิชาชีพอื่นมาเป็นของตน | |
| พึงยกย่องให้เกียรติและเคารพในศักดิ์ศรีซึ่งกันและกันรวมทั้งสร้างความสามัคคีในหมู่ผู้ร่วมวิชาชีพ | |
| ต้องไม่ชักจูงผู้ป่วยของผู้อื่นมาเป็นของตน | |
| ต้องไม่ให้ร้าย หรือดูหมิ่นเหยียดหยามผู้ร่วมวิชาชีพด้วยกัน | |
2 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เรียกเก็บค่าตอบแทนพิเศษจากการจัดส่งผู้ป่วยให้กับคลินิกของเพื่อน | ถูก |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ให้หรือรับผลประโยชน์เป็นค่าตอบแทนเนื่องจากการรับหรือส่งผู้ป่วยเพื่อรับบริการทางการแพทย์ | |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ รักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับที่ดีที่สุด | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ พยายามให้ผู้ป่วยพ้นจากอาการทรมานจากโรคและความพิการต่าง ๆ โดยไม่เรียกร้องสินจ้างรางวัลพิเศษนอกเหนือจากค่าบริการที่ควรได้รับตามปกติ | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ประพฤติหรือกระทําการใด ๆ อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ | |
3 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ หงุดหงิดง่าย บางครั้งไม่สามารถควบคุมอารมณ์กับผู้ป่วยได้ | ถูก |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยสุภาพมีน้ําใจ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ รักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับที่ดีที่สุด | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ พยายามให้ผู้ป่วยพ้นจากอาการทรมานจากโรคและความพิการต่าง ๆ โดยไม่เรียกร้องสินจ้างรางวัลพิเศษนอกเหนือจากค่าบริการที่ควรได้รับตามปกติ | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ประพฤติหรือกระทําการใด ๆ อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ | |
4 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยปราศจากการบังคับขู่เข็ญ ล่วงเกินและลวนลามผู้ป่วยด้วยกาย วาจา ใจ ทางด้านกามารมณ์และอื่น ๆ | |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยสุภาพมีน้ําใจ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ประพฤติหรือกระทําการใด ๆ อันอาจเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยเพศหญิงอย่างใกล้ชิดเกินไป | ถูก |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ รักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับที่ดีที่สุด | |
5 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่หลอกลวงผู้ป่วยให้หลงเข้าใจผิดในการประกอบวิชาชีพ | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปิดปังผู้ป่วยให้เข้าใจว่าตนเอง สามารถรักษาโรคได้ | ถูก |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยสุภาพมีน้ําใจ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ รักษามาตรฐานของการประกอบวิชาชีพในระดับที่ดีที่สุด | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยปราศจากการบังคับขู่เข็ญ ล่วงเกินและลวนลามผู้ป่วยด้วยกาย วาจา ใจ ทางด้านกามารมณ์และอื่นๆ | |
6 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คํานึงถึงความปลอดภัยและความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย | |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ทําการรักษาผู้ป่วยเน้นความรวดเร็ว โดยไม่คํานึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย | ถูก |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยสุภาพมีน้ำใจ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ให้คํารับรองอันเป็นเท็จ | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่หลอกลวงผู้ป่วยให้หลงเข้าใจผิดในการประกอบวิชาชีพ | |
7 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ให้คํารับรองอันเป็นเท็จ | |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามหน้าที่ | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ให้คํารับรองทางการแพทย์เป็นเท็จ เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย | ถูก |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยสุภาพมีน้ำใจ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คํานึงถึงความปลอดภัยและความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย | |
8 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ให้คํารับรองอันเป็นเท็จ | |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามหน้าที่ | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามหน้าที่ | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คํานึงถึงความปลอดภัยและความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ด้วยความเป็นห่วงจึงเปิดเผยความลับให้เพื่อนของผู้ป่วยทราบ โดยไม่ได้แจ้งผู้ป่วยก่อน | ถูก |
9 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คํานึงถึงความปลอดภัยและความสิ้นเปลืองของผู้ป่วย | |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามหน้าที่ | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะอันตรายจากการเจ็บป่วยเมื่อได้รับคําขอร้องและตนอยู่ในฐานะที่จะช่วยได้ | |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่ไม่ใช่ผู้ป่วยของตน ที่เป็นลมด้านหน้าคลินิกของตน | ถูก |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามหน้าที่ | |
10 | จากข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2557 ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ข. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ พึงให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการใช้ยาแก่ผู้ป่วย | |
| นาย จ. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในระยะอันตรายจากการเจ็บป่วยเมื่อได้รับคําขอร้องและตนอยู่ในฐานะที่จะช่วยได้ | |
| นาย ง. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามหน้าที่ | |
| นาย ค. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ รักษาผู้ป่วยในคลินิกแต่ไม่ได้ให้คําแนะนําความเหมาะสมให้การใช้ยาให้แก่ผู้ป่วย | ถูก |
| นาย ก. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่เปิดเผยความลับของผู้ป่วยซึ่งตนทราบมาเนื่องจากการประกอบวิชาชีพ เว้นแต่ด้วยความยินยอมของผู้ป่วย หรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือตามหน้าที่ | |
11 | จากกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมสําหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์พ.ศ. 2558 ค่าหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียน ฉบับละเท่าไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 500บาท | |
| 2,000 บาท | |
| 1,500 บาท | |
| 1,000บาท | |
| 200 บาท | ถูก |
12 | จากกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมสําหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์พ.ศ. 2558 ค่าหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญ ฉบับละเท่าไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 500 บาท | |
| 1,000 บาท | ถูก |
| 2,000 บาท | |
| 1,500 บาท | |
| 200 บาท | |
13 | จากกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมสําหรับผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์พ.ศ. 2558 ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละเท่าไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 500 บาท | ถูก |
| 2,000 บาท | |
| 1,500 บาท | |
| 1,000 บาท | |
| 200 บาท | |
14 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คืออะไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| เพราะวิชาแพทย์แผนไทยเป็นวิชาเก่าแก่ที่ต้องอนุรักษ์ไว้ | |
| เพราะจํานวนผู้ประกอบวิชาชีพมีไม่มากเหมาะสมในการจัดการได้ | |
| เพราะจํานวนผู้ประกอบวิชาชีพมีมากขึ้นและมีศักยภาพพอในการปกครองตนเอง. | ถูก |
| เพราะต้องการเพิ่มมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ | |
| เพราะต้องการมีสภาแพทย์แผนไทยเป็นของตนเอง | |
15 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ความหมายของคําในข้อใดที่ไม่มีข้อความว่า“การตรวจ การวินิจฉัย การบําบัด การรักษา การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ” อยู่ในนั้น ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| การผดุงครรภ์ไทย | |
| เวชกรรมไทย | |
| การนวดไทย | |
| เภสัชกรรมไทย | ถูก |
| การแพทย์พื้นบ้านไทย | |
16 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ในกรณีที่บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดอ้างถึงผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย ให้หมายถึงอะไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย. | ถูก |
| หมอแผนไทย | |
| ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ | |
| หมอพื้นบ้านไทย | |
| แพทย์พื้นบ้านไทย | |
17 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 คุณสมบัติของสมาชิกสภาการแพทย์แผนไทย ในหัวข้อความรู้ในวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| ได้รับการฝึกอบรมจากสถาบันที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองและสอบผ่านความรู้ตามข้อบังคับสภา | |
| ได้รับปริญญาสาขาการแพทย์แผนไทยจากสถาบันการศึกษาที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองและสอบผ่านความรู้ตามข้อบังคับสภา | |
| ได้รับการฝึกอบรมจากสถานพยาบาลที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองและสอบผ่านความรู้ตามข้อบังคับสภา | |
| ไม่จําเป็นต้องผ่านการฝึกอบรม เพียงแค่สอบผ่านความรู้ตามข้อบังคับสภาก็เพียงพอ | ถูก |
| ได้รับประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาสาขาการแพทย์แผนไทยจากสถาบันการศึกษาที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองและสอบผ่านความรู้ตามข้อบังคับสภา | |
18 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ในหัวข้อสิทธิและหน้าที่ ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย จ. เป็นแพทย์แผนไทย สามารถดึงผู้ป่วยของแพทย์ท่านอื่นมาเป็นของตนได้โดยไม่ต้องขออนุญาต | ถูก |
| นาย ข. เป็นแพทย์แผนไทย มีความรู้ความชํานาญในเรื่องโรคริดสีดวงทวาร สามารถทําเรื่องขอหนังสืออนุมัติแสดงความรู้ความชํานาญต่อสภาการแพทย์แผนไทยได้ | |
| นาย ค. เป็นแพทย์แผนไทย สามารถลงรับเลือกตั้งเป็นกรรมการสภาการแพทย์แผนไทยได้ | |
| นาย ก. สอบผ่านภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติของสภาการแพทย์แผนไทย แล้วขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย สามารถรับเลือกเป็นกรรมการสภาการแพทย์แผนไทยในตําแหน่งที่ว่างลงได้ | |
19 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 สมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสุดลง ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ข. เป็นแพทย์แผนไทย แต่ภายหลังจากนั้นได้ลาออกจากการเป็นสมาชิกสภาและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| นาย จ. เป็นแพทย์แผนไทย เป็นโรคเรื้อนที่ผิวหนังด้านหลังรักษาหายภายใน 1 เดือน | ถูก |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย ถูกคําพิพากษาของศาลฎีกาตัดสินจําคุกตลอดชีวิต | |
| นาย ก. เป็นแพทย์แผนไทย ประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต | |
| นาย ค. เป็นแพทย์แผนไทย แต่ภายหลังถูกตรวจสอบว่าปลอมหลักฐานทางการศึกษาเพื่อใช้สมัครสอบสภา | |
20 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ได้มีการออกกฏหมายแก้ไขเพิ่มเติม กรรมการโดยตําแหน่ง ใน พ.ศ.อะไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| พ.ศ. 2562 | ถูก |
| พ.ศ. 2564 | |
| พ.ศ. 2563 | |
| พ.ศ. 2560 | |
| พ.ศ. 2561 | |
21 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กฏหมายแก้ไขเพิ่มเติมกรรมการโดยตำแหน่ง ชื่อว่าอะไร ฉบับที่เท่าไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 19). | ถูก |
| พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 21) | |
| พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 23) | |
| พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 22) | |
| พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 20) | |
22 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กฏหมายแก้ไขเพิ่มเติมกรรมการโดยตำแหน่ง ที่มาแทน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา คือ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ | |
| ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม | ถูก |
| ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | |
| ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิตและสังคม | |
| ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ | |
23 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสมาคมหรือมูลนิธิที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ข้อใดมีคุณสมบัติไม่ถูกต้อง ? | |
| นาย ก. เป็นแพทย์แผนไทยประยุกต์ ทํางานในสมาคมแพทย์แผนไทยแห่งหนึ่ง | |
| นาย ข. เป็นแพทย์แผนไทย ทํางานในมูลนิธิแพทย์แผนไทยแห่งหนึ่ง | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย ที่เคยถูกสั่งพักใบอนุญาต 3 เดือน | ถูก |
| นาย ค. เป็นแพทย์แผนไทย ที่ไม่เคยถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ | |
| นาย จ. เป็นแพทย์แผนไทย ไม่เคยถูกฟ้องล้มละลาย | |
24 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 อํานาจหน้าที่ในการ ออกข้อบังคับสภาว่าด้วย เรื่องใดของคณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทย ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| หลักเกณฑ์การพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต | |
| การกําหนดหลักฐานการสมัครเข้าอบรมสถาบันที่สภารับรอง. | ถูก |
| การประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะที่ปรึกษา | |
| การเป็นสมาชิก | |
| จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
25 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ข้อใดเป็นอํานาจหน้าที่ของอุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่หนึ่ง ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ควบคุมรับผิดชอบในงานธุรการทั่วไปของสภาการแพทย์แผนไทย | |
| เป็นเลขานุการคณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทย | |
| ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาการแพทย์แผนไทย ทุกระดับ | |
| ควบคุมดูแลทรัพย์สินของสภาการแพทย์แผนไทย | |
| เป็นผู้ช่วยนายกสภาการแพทย์แผนไทยตามที่มอบหมาย หรือเมื่อนายกไม่อยู่หรือไม่สามารถปฏิบัติงานได้ | ถูก |
26 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กรณีสภานายกพิเศษมิได้ยับยั้งมติเรื่องการออกข้อบังคับภายในระยะกี่วันนับแต่วันที่ได้รับมติ ให้ถือว่าสภานายกพิเศษเห็นชอบมติ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 7 วัน | |
| 30 วัน | ถูก |
| 45 วัน | |
| 10 วัน | |
| 15 วัน | |
27 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กรณีสภานายกพิเศษมิได้ยับยั้งมติเรื่องการให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา 14 (4) ภายในระยะกี่วันนับแต่วันที่ได้รับมติ ให้ถือว่าสภานายกพิเศษเห็นชอบมติ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 10 วัน | |
| 30 วัน | |
| 7 วัน | |
| 45 วัน | |
| 15 วัน | ถูก |
28 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กรณีสภานายกพิเศษมิได้ยับยั้งมติเรื่องการวินิจฉัยชี้ขาดให้พักใช้ใบอนุญาต ภายในระยะกี่วันนับแต่วันที่ได้รับมติ ให้ถือว่าสภานายกพิเศษเห็นชอบมติ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 15 วัน. | ถูก |
| 7 วัน | |
| 10 วัน | |
| 45 วัน | |
| 30 วัน | |
29 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กรณีสภานายกพิเศษมิได้ยับยั้งมติเรื่องการวินิจฉัยชี้ขาดให้เพิกถอนใบอนุญาต ภายในระยะกี่วันนับแต่วันที่ได้รับมติ ให้ถือว่าสภานายกพิเศษเห็นชอบมติข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 15 วัน. | ถูก |
| 7 วัน | |
| 10 วัน | |
| 45 วัน | |
| 30 วัน | |
30 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ถ้าสภานายกพิเศษยับยั้งมติใด ให้คณะกรรมการประชุมพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง ในการประชุม นั้นถ้ามีเสียงยืนยันมติไม่น้อยกว่าเท่าใด ก็ให้ดําเนินการตามมตินั้นได้ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ครึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น | |
| กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด | |
| หนึ่งในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น | |
| กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น | |
| สองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ในขณะนั้น. | ถูก |
31 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การกระทําการประกอบวิชาชีพในข้อใด ไม่ถูกต้องตามกฏหมาย ? | |
| นาย ค. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ไปออกหน่วยจิตอาสารักษาคนที่ชนบทด้วยตนเองเพียงคนเดียว | ถูก |
| นาย ก. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ทําการรักษาตนเองโดยใช้กรรมวิธีการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ข. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ช่วยเหลือคนที่เป็นลมฉุกเฉินเบื้องต้นและทําการโทรแจ้งกู้ภัย | |
| นาย จ. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย | |
| นาย ง. เป็นนักศึกษาแพทย์แผนไทย ไปออกหน่วยกับโรงเรียนแพทย์แพทย์แผนไทยที่ตนเองฝึกอบรมอยู่ | |
32 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 หมอพื้นบ้าน โดยต้องมีใครเป็นผู้เสนอให้หน่วยงานที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดเป็นผู้รับรอง ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| คณะกรรมการหมู่บ้านหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | ถูก |
| ผู้ใหญ่บ้าน | |
| กํานัน | |
| นายอำเภอ | |
| ผู้ว่าราชการจังหวัด | |
33 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 คุณสมบัติของ หมอพื้นบ้าน ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ก. มีเชื้อสายที่สืบทอดการเป็นหมอผีมาตั้งแต่รุ่นคุณปู่ | |
| นาย ข. มีความรู้ความสามารถในการรักษาคนในท้องถิ่นและเป็นที่นิยมมาเป็นระยะเวลามากกว่า 20 ปี | ถูก |
| นาย ง. เรียนจบการนวดไทยมาจากวัดโพธิ์ | |
| นาย จ. เป็นจิตอาสาชอบช่วยเหลือคนในชนบท | |
| นาย ค. เรียนจบปริญญาแพทย์ศาสตร์บัณฑิตมาจากต่างประเทศ | |
34 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การกระทําการประกอบวิชาชีพในข้อใด ไม่ถูกต้องตามกฏหมาย ? | |
| นาย ง. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถจ้างร้านทํานามบัตร โดยใช้คําย่อวุฒิการศึกษาว่า พท.บ. | |
| นาย ข. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยประยุกต์และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท.ป. | |
| นาย ก. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
| นาย ค. จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.)และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
| นาย จ. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) แต่ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทยสามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท.. | ถูก |
35 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การกระทําการประกอบวิชาชีพในข้อใด ไม่ถูกต้องตามกฏหมาย ? | |
| นาย จ. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) แต่ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย สามารถแสดงสิทธิว่าตัวเองเป็นแพทย์แผนไทยได้ | ถูก |
| นาย ก. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถแสดงสิทธิว่าตัวเองเป็นแพทย์แผนไทยได้ | |
| นาย ง. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถแจ้งผู้อื่นได้ว่าว่าตัวเองเป็นแพทย์แผนไทย | |
| นาย ค. จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.)และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถแสดงสิทธิว่าตัวเองเป็นแพทย์แผนไทยได้ | |
| นาย ข. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยประยุกต์และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถแสดงสิทธิว่าตัวเองเป็นแพทย์แผนไทยได้ | |
36 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ธุรกรรมใดที่ไม่ต้องเป็นไปตามข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| วิธีการขอการออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญ | |
| วิธีการขอการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| วิธีการขอการขึ้นทะเบียนสมาชิกสภาการแพทย์แผนไทย | |
| วิธีสมัครและหลักฐานในการสมัครเรียนสถาบันทางการแพทย์แผนไทย. | ถูก |
| วิธีการขอออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
37 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ใครที่ต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจํากัดและเงื่อนไขและต้องรักษาจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยตามที่กําหนดไว้ใน ข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย | ถูก |
| นาย ก. มีเชื้อสายที่สืบทอดการเป็นหมอผีมาตั้งแต่รุ่นคุณปู่ | |
| นาย ข. มีความรู้ความสามารถในการรักษาคนในท้องถิ่นและเป็นที่นิยมมาเป็นระยะเวลามากกว่า 20 ปี | |
| นาย ค. เรียนจบปริญญาแพทย์ศาสตร์บัณฑิตมาจากต่างประเทศ | |
| นาย จ. เป็นจิตอาสาชอบช่วยเหลือคนในชนบท | |
38 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายเพราะการประพฤติผิด ของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย มีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้น โดยต้องดําเนินการอย่างไรต่อสภาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| โดยทําคํากล่าวหาเป็นหนังสือ ยื่นต่อสภาการแพทย์แผนไทย | ถูก |
| โดยทําการส่งคํากล่าวหาเป็นอีเมล์ส่งไปที่อีเมล์กลางของสภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการกรอกแบบฟอร์มคํากล่าวหา ยื่นผ่านเวปไซต์สภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการแจ้งเรื่องต่อสภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการโทรศัพท์ไป แจ้งที่ระบบรับคํากล่าวหาของสภาการแพทย์แผนไทย | |
39 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 บุคคลอื่นมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย โดยต้องดําเนินการอย่างไรต่อสภาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| โดยทําคํากล่าวโทษเป็นหนังสือ ยื่นต่อสภาการแพทย์แผนไทย | ถูก |
| โดยทําการส่งคํากล่าวโทษเป็นอีเมล์ ส่งไปที่อีเมล์กลางของสภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการแจ้งเรื่องต่อสภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการกรอกแบบฟอร์มคํากล่าวโทษ ยื่นผ่านเวปไซต์สภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการโทรศัพท์ไป แจ้งที่ระบบรับคํากล่าวโทษของสภาการแพทย์แผนไทย | |
40 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 กรรมการมีสิทธิกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย โดยต้องดําเนินการอย่างไรต่อสภาการแพทย์แผนไทย ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| โดยทําการแจ้งเรื่องต่อสภาการแพทย์แผนไทย. | ถูก |
| โดยทําการโทรศัพท์ไป แจ้งที่ระบบรับคํากล่าวโทษของสภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําคํากล่าวโทษเป็นหนังสือ ยื่นต่อสภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการกรอกแบบฟอร์มคํากล่าวโทษ ยื่นผ่านเวปไซต์สภาการแพทย์แผนไทย | |
| โดยทําการส่งคํากล่าวโทษเป็นอีเมล์ ส่งไปที่อีเมล์กลางของสภาการแพทย์แผนไทย | |
41 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การถอนเรื่องการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษที่ได้ยื่นหรือแจ้งไว้แล้ว ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| กระทําการถอนได้แต่เรื่องการกล่าวโทษเพียงอย่างเดียวเท่านั้น | |
| ถือว่าสิ้นสุดการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษ ไม่ต้องดําเนินการอะไรต่อไป | |
| ไม่สามารถที่จะกระทําการถอนเรื่องการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษได้ | |
| กระทําได้แต่ ไม่เป็นเหตุให้ระงับการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ | ถูก |
| กระทําการถอนได้แต่เรื่องการกล่าวหาเพียงอย่างเดียวเท่านั้น | |
42 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเท่าใด ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 7 วัน | |
| 10 วัน | |
| 15 วัน | |
| ตามที่คณะกรรมการกําหนดให้. | ถูก |
| 30 วัน | |
43 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณดําเนินการ ถ้ามีเหตุจําเป็นไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด สามารถขยายระยะเวลาดําเนินการออกไปได้ไม่เกินเท่าใด นับแต่วันที่ครบกําหนดเวลา ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 30 วัน | ถูก |
| 15 วัน | |
| ตามที่คณะกรรมการกําหนดให้ | |
| 10 วัน | |
| 7 วัน | |
44 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 คณะอนุกรรมการสอบสวนดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเท่าใด ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 10 วัน | |
| ตามที่คณะกรรมการกําหนดให้ | ถูก |
| 7 วัน | |
| 30 วัน | |
| 15 วัน | |
45 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 คณะอนุกรรมการสอบสวนดําเนินการ ถ้ามีเหตุจําเป็นไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด สามารถขยายระยะเวลาดําเนินการออกไปได้ไม่เกินเท่าใด นับแต่วันที่ครบกําหนดเวลา ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 7 วัน | |
| ตามที่คณะกรรมการกําหนดให้ | |
| 10 วัน | |
| 15 วัน | |
| 30 วัน | ถูก |
46 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ เข้าไปในสถานที่ทําการของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยในเวลาทําการของสถานที่นั้น เพื่ออะไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| เพื่อตรวจสารเสพติดที่อยู่ในร่างกายของผู้ประกอบวิชาชีพ | |
| เพื่อตรวจสิ่งแวดล้อมของสถานที่ทําการของผู้ประกอบวิชาชีพ | |
| เพื่อตรวจสอบหรือควบคุมให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ | ถูก |
| เพื่อจับกุมผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารของสภาการแพทย์แผนไทย | |
47 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ เข้าไปในสถานที่หรือยานพาหนะใด ๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่า จะมีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในเวลาใด ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ในเวลาเที่ยงถึงเย็นเท่านั้น | |
| ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ขึ้น | |
| ในเวลาราชการเท่านั้น | |
| ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทําการของสถานที่นั้น | ถูก |
| ในเวลาเช้าถึงเที่ยงเท่านั้น | |
48 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ เข้าไปในสถานที่หรือยานพาหนะใด ๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่า จะมีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่ออะไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| เพื่อจับกุมผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เพื่อตรวจสิ่งแวดล้อมของสถานที่ทําการของผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารของสภาการแพทย์แผนไทยเพื่อไม่ให้ทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เพื่อตรวจค้นเอกสารหรือวัตถุใด ๆ ที่อาจใช้เป็นหลักฐานในการดําเนินการกระทําผิดตามพระราชบัญญัตินี้ประกอบกับกรณีมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่าหากเนิ่นช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ เอกสารหรือวัตถุดังกล่าวจะถูกยักย้าย ซุกซ่อน ทําลายหรือทําให้เปลี่ยนสภาพไปจากเดิม | ถูก |
| เพื่อตรวจสารเสพติดที่อยู่ในร่างกายของผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
49 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารของสภาการแพทย์แผนไทยเพื่อไม่ให้ทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เพื่อยึดเอกสาร หรือวัตถุใด ๆ ที่อาจใช้เป็นหลักฐานในการดําเนินคดีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | ถูก |
| เพื่อจับกุมผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เพื่อตรวจสารเสพติดที่อยู่ในร่างกายของผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เพื่อตรวจสิ่งแวดล้อมของสถานที่ทําการของผู้ประกอบวิชาชีพที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | |
50 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ฝ่าฝืนต้องระวางโทษเท่าใด ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ยกเว้นข้อใด ? | |
| นาย ก. มีเชื้อสายที่สืบทอดการเป็นหมอผีมาตั้งแต่รุ่นคุณปู่ ทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย ทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | ถูก |
| นาย จ. เป็นจิตอาสาชอบช่วยเหลือคนในชนบท ทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ค. เรียนจบปริญญาแพทย์ศาสตร์บัณฑิตมาจากต่างประเทศ ทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ข. มีความรู้ความสามารถในการรักษาคนในท้องถิ่นและเป็นที่นิยมมาเป็นระยะเวลามากกว่า 5 ปีทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
51 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ข้อใดที่ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ข. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ช่วยเหลือคนที่เป็นลมฉุกเฉินเบื้องต้นและทําการโทรแจ้งกู้ภัย | |
| นาย ค. เป็นนักศึกษาแพทย์แผนไทย ไปออกหน่วยกับโรงเรียนแพทย์แพทย์แผนไทยที่ตนเองฝึกอบรมอยู่ | |
| นาย จ. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย | |
| นาย ก. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ทําการรักษาตนเองโดยใช้กรรมวิธีการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใบอนุญาต แต่แอบเปิดรับคนไข้ | ถูก |
52 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ข้อใดที่ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ แต่แอบรับรักษาคนไข้ | ถูก |
| นาย จ. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย | |
| นาย ข. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ช่วยเหลือคนที่เป็นลมฉุกเฉินเบื้องต้นและทําการโทรแจ้งกู้ภัย | |
| นาย ค. เป็นนักศึกษาแพทย์แผนไทย ไปออกหน่วยกับโรงเรียนแพทย์แพทย์แผนไทยที่ตนเองฝึกอบรมอยู่ | |
| นาย ก. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ทําการรักษาตนเองโดยใช้กรรมวิธีการแพทย์แผนไทย | |
53 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การมีสิทธิในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ข้อใดถ้าแสดงสิทธิในการประกอบ จะต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ก. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ทําการรักษาตนเองโดยใช้กรรมวิธีการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ค. เป็นนักศึกษาแพทย์แผนไทย ไปออกหน่วยกับโรงเรียนแพทย์แพทย์แผนไทยที่ตนเองฝึกอบรมอยู่ | |
| นาย จ. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย | |
| นาย ข. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ช่วยเหลือคนที่เป็นลมฉุกเฉินเบื้องต้นและทําการโทรแจ้งกู้ภัย | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใบอนุญาต | ถูก |
54 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การมีสิทธิในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ข้อใดถ้าแสดงสิทธิในการประกอบ จะต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ข. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ช่วยเหลือคนที่เป็นลมฉุกเฉินเบื้องต้นและทําการโทรแจ้งกู้ภัย | |
| นาย ง. เป็นแพทย์แผนไทย ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ | ถูก |
| นาย จ. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย | |
| นาย ก. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ทําการรักษาตนเองโดยใช้กรรมวิธีการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ค. เป็นนักศึกษาแพทย์แผนไทย ไปออกหน่วยกับโรงเรียนแพทย์แพทย์แผนไทยที่ตนเองฝึกอบรมอยู่ | |
55 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การใช้คําหรือข้อความด้วยอักษรไทย หรือใช้อักษรย่อของคําดังกล่าว หรือใช้คําแสดงวุฒิการศึกษาทางแพทยแผนไทย หรือใช้อักษรย่อของวุฒิดังกล่าวประกอบกับชื่อหรือชื่อสกุลของตน ข้อใดคือผู้ทําผิดกฏหมาย ที่ต้องระวางโทษ จําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ? | |
| นาย ข. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยประยุกต์และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท.ป. | |
| นาย ก. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
| นาย จ. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย สามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | ถูก |
| นาย ง. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถจ้างร้านทํานามบัตร โดยใช้คําย่อวุฒิการศึกษาว่า พท.บ. | |
| นาย ค. จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.)และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
56 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ใช้คําหรือข้อความที่แสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทย ข้อใดคือผู้ทําผิดกฏหมาย ที่ต้องระวางโทษ จําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทัั้งปรับ ? | |
| นาย ค. จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.)และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา ชอบแสดงความรู้ทางแพทย์แผนไทยผ่านทางสื่อออนไลน์ | |
| นาย ข. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยประยุกต์และสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา ชอบแสดงความรู้ทางแพทย์แผนไทยประยุกต์ผ่านทางสื่อออนไลน์ | |
| นาย ง. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา สามารถจ้างร้านทํานามบัตร โดยใช้คําย่อวุฒิการศึกษาว่า พท.บ. และ แสดงข้อมูลคําย่อวุฒิในสื่อสังคมออนไลน์ | |
| นาย จ. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย ชอบแสดงความรู้ทางแพทย์แผนไทยผ่านทางสื่อออนไลน์. | ถูก |
| นาย ก. จบปริญญาตรีทางแพทย์แผนไทยและสอบผ่านได้รับใบอนุญาตจากสภา ชอบแสดงความรู้ทางแพทย์แผนไทยผ่านทางสื่อออนไลน์ | |
57 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ข้อใดที่ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ค. มีเชื้อสายที่สืบทอดการเป็นหมอผีมาตั้งแต่รุ่นคุณปู่ ทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ก. ไม่ยอมมาให้ถ้อยคําตามคําสั่งของคณะอนุกรรมการสอบสวน | ถูก |
| นาย ข. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใบอนุญาต แต่แอบเปิดรับคนไข้ | |
| นาย ง. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย แต่ใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
| นาย จ. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ชอบเป็นจิตอาสารักษาคนในชนบทใช้วิธีการแพทย์แผนไทยด้วยตนเอง | |
58 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ข้อใดที่ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ข. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใบอนุญาต แต่แอบเปิดรับคนไข้ | |
| นาย ก. ไม่ยอมมาให้ถ้อยคําตามคําสั่งของคณะอนุกรรมการสอบสวน | |
| นาย ง. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย แต่ใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
| นาย ค. เป็นแพทย์แผนไทย แต่ภายหลังถูกตรวจสอบว่าปลอมหลักฐานทางการศึกษาเพื่อใช้สมัครสอบสภา ทําให้พ้นสภาพสมาชิก ต้องส่งคืนใบอนุญาตแต่ไม่ยอมส่งคืนให้กับสภาการแพทย์ไทย | ถูก |
| นาย จ. ไม่ได้เป็นแพทย์แผนไทย แต่ชอบเป็นจิตอาสารักษาคนในชนบทใช้วิธีการแพทย์แผนไทยด้วยตนเอง | |
59 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ข้อใดที่ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ค. มีเชื้อสายที่สืบทอดการเป็นหมอผีมาตั้งแต่รุ่นคุณปู่ ทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ง. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย แต่ใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
| นาย จ. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย มีพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบเอกสารที่คลินิกแต่ไม่อํานวยความสะดวก พยายามปิดบังข้อมูลและหลักฐาน | ถูก |
| นาย ข. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใบอนุญาต แต่แอบเปิดรับคนไข้ | |
| นาย ก. ไม่ยอมมาให้ถ้อยคําตามคําสั่งของคณะอนุกรรมการสอบสวน | |
60 | จากพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 ข้อใดที่ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| นาย ค. มีเชื้อสายที่สืบทอดการเป็นหมอผีมาตั้งแต่รุ่นคุณปู่ ทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย | |
| นาย ง. ไม่ได้จบจากสถาบันแพทย์แผนไทย(แผน ก.) ปัจจุบันปฏิบัติงานช่วยในคลินิกแพทย์แผนไทย แต่ใช้คํานําหน้าชื่อว่า พท. | |
| นาย จ. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย มีพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบเอกสารที่คลินิก แต่พนักงานไม่ยอมติดบัตรในขณะปฏิบัติหน้าที่ จึงแจ้งไปที่สภาการแพทย์แผนไทย | ถูก |
| นาย ก. ไม่ยอมมาให้ถ้อยคําตามคําสั่งของคณะอนุกรรมการสอบสวน | |
| นาย ข. เป็นแพทย์แผนไทย เปิดคลินิกการแพทย์แผนไทย อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใบอนุญาต แต่แอบเปิดรับคนไข้ | |
61 | จาก พรบ.สถานพยาบาล ในกรณีที่ผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต ผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาต แล้วแต่กรณี มีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในกี่วัน ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 60 วัน | |
| 90 วัน | |
| 30 วัน | ถูก |
| 7 วัน | |
| 15 วัน | |
62 | จาก พรบ.สถานพยาบาล กรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการ แล้วแต่กรณี แจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในกี่วันนับแต่วันที่ได้รับทราบการสูญหายหรือถูกทําลาย ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 90 วัน | |
| 60 วัน | |
| 15 วัน | |
| 7 วัน | |
| 30 วัน | ถูก |
63 | จาก พรบ.สถานพยาบาล ผู้รับอนุญาตต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ ณ สถานพยาบาลนั้น ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล | |
| ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าบริการอื่นและสิทธิของผู้ป่วย | |
| อัตราค่ารักษาพยาบาล ค่ายาและเวชภัณฑ์ | |
| รายการโฆษณาสรรพคุณยาที่ใช้ในสถานพยาบาล | ถูก |
| ชื่อสถานพยาบาล | |
64 | จาก พรบ.สถานพยาบาล กรณีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ผู้รับอนุญาตต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบภายในกําหนดกี่วัน นับแต่วันที่มีการเปลี่ยนนั้น ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 7 วัน | |
| 60 วัน | |
| 90 วัน | |
| 15 วัน | |
| 30 วัน. | ถูก |
65 | จาก พรบ.สถานพยาบาล กรณีผู้รับอนุญาตผู้ใดประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาล ต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทํารายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่ากี่วัน ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 7 วัน | |
| 30 วัน | |
| 15 วัน | ถูก |
| 90 วัน | |
| 60 วัน | |
66 | จาก พรบ.สถานพยาบาล พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| ยึดหรืออายัดบรรดาเอกสารหรือสิ่งของที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อเป็นหลักฐานในการดําเนินคดี | |
| เข้าไปในสถานพยาบาลในระหว่างเวลาทําการเพื่อตรวจสอบและควบคุมให้การเป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| เข้าไปในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะที่พนักงานเจ้าหน้าที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสถานพยาบาลที่ไม่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ | |
| มีหนังสือเรียกผู้รับอนุญาต ผู้ดําเนินการ ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาลมาให้ถ้อยคําหรือชี้แจงหรือให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องมาเพื่อประกอบการพิจารณา | |
| จับกุมผู้รับอนุญาต ผู้ดําเนินการ ผู้ประกอบวิชาชีพที่กระทําผิดตามพระราชบัญญัตินี้ | ถูก |
67 | จาก พรบ.สถานพยาบาล คําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือของผู้อนุญาตให้ทําเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการ ณ ภูมิลําเนาของผู้นั้นแล้ว แต่กรณีถ้าไม่พบตัวหรือไม่ยอมรับคําสั่งดังกล่าว ให้ดําเนินการอย่างไร ข้อใดไม่ถูกต้อง ? | |
| ให้จัดการปิดคําสั่งไว้ในที่เปิดเผย | |
| ให้ปิดคําสั่งในที่เห็นได้ง่าย ณ สถานพยาบาล | |
| ให้ลงคําสั่งในหนังสือพิมพ์ | |
| ไม่ต้องดําเนินการอย่างไรอีกเลย. | ถูก |
| ให้ลงคําสั่งในสื่อสังคมออนไลน์ | |
68 | จาก พรบ.สถานพยาบาล ผู้ใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแล้วจะขอรับใบอนุญาตใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นกําหนดระยะเวลาเท่าใดนับแต่วันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 2 ปี | ถูก |
| 4 ปี | |
| 5 ปี | |
| 1 ปี | |
| 3 ปี | |
69 | จาก พรบ.สถานพยาบาล คําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือของผู้อนุญาตผู้ที่ได้รับคําสั่งมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในกี่วันนับแต่วันที่ทราบคําสั่ง ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 15 วัน | |
| 90 วัน | |
| 7 วัน | |
| 60 วัน | |
| 30 วัน | ถูก |
70 | ผู้ประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษอย่างไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| จําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| ปรับไม่เกิน 10,000 บาท | |
| จําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และริบทรัพย์ | ถูก |
71 | ผู้ดําเนินการสถานพยาบาลไม่ควบคุมและดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลประกอบวิชาชีพผิดไปจากสาขา ชั้น หรือแผน ที่ผู้รับอนุญาตได้แจ้งไว้ในการขอรับใบอนุญาต หรือมิให้บุคคลอื่นซึ่งมิใช่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทําการประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล มีโทษอย่างไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | ถูก |
| จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และริบทรัพย์ | |
| ปรับไม่เกิน 10,000 บาท | |
| จําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
72 | ผู้ประกอบกิจการและผู้ดําเนินการไม่จัดให้มีและรายงานหลักฐานเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลและผู้ป่วย และเอกสารอื่นที่เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในโดยต้องเก็บรักษาไว้ให้อยู่ในสภาพที่ตรวจสอบได้ไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่จัดทํา มีโทษอย่างไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 5 ปีหรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และริบทรัพย์ | |
| จําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ. | ถูก |
| จําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| ปรับไม่เกิน 10,000 บาท | |
73 | ผู้อนุญาตจัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจลักษณะของสถานพยาบาลและการประกอบกิจการของสถานพยาบาลให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้โดยสม่ําเสมอ เจ้าหน้าที่มีอํานาจออกคําสั่งให้ผู้รับอนุญาตแก้ไขปรับปรุงสถานพยาบาลให้เหมาะสมภายในระยะเวลาที่กําหนดได้ ถ้าผู้รับอนุญาต ไม่ดําเนินการตามคําสั่ง มีโทษอย่างไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และริบทรัพย์ | |
| จําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| ปรับไม่เกิน 10,000 บาท | |
| จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ. | ถูก |
74 | ผู้ประกอบกิจการสถานพยาบาลไม่แจ้งการเลิกกิจการล่วงหน้าภายใน 15 วัน มีโทษอย่างไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ปรับไม่เกิน 10,000 บาท. | ถูก |
| จําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และริบทรัพย์ | |
| จําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
75 | ผู้ประกอบกิจการสถานพยาบาลไม่จัดให้มีผู้ดําเนินการ มีโทษอย่างไร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| จําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| ปรับไม่เกิน 10,000 บาท | |
| จําคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และริบทรัพย์ | |
| จําคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | |
| จําคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ | ถูก |
76 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ให้ผู้รับอนุญาตยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 10 วัน | |
| 30 วัน | |
| 45 วัน | |
| 7 วัน | |
| 15 วัน. | ถูก |
77 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 กรณีผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนปฏิบัติหน้าที่แทนได้ไม่เกินกี่วัน นับแต่วันที่เข้าปฏิบัติหน้าที่แทน ? | |
| 45 วัน | |
| 60 วัน | |
| 15 วัน | |
| 30 วัน | |
| 90 วัน | ถูก |
78 | จากพรบ.ผลิตภัณฑสมุนไพร พ.ศ. 2562 กรณีผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการแทน ผู้รับอนุญาตต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบภายในกี่วันนับแต่วันที่บุคคลดังกล่าวเข้าปฏิบัติหน้าที่แทน ? | |
| 15 วัน | |
| 30 วัน | |
| 7 วัน | |
| 60 วัน | |
| 3 วัน. | ถูก |
79 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 กรณีที่ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการไม้ประสงค์จะปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ให้ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่ากี่วัน ? | |
| 15 วัน | |
| 30 วัน | |
| 60 วัน | |
| 3 วัน | |
| 7 วัน. | ถูก |
80 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ผู้รับอนุญาตมีหน้าที่อะไรบ้าง ยกเว้นข้อใด ? | |
| จัดให้มีป้ายซึ่งแสดงว่าเป็นสถานที่ผลิต นำเข้า หรือขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมทั้งแสดงใบอนุญาตของผู้รับอนุญาตและผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ | |
| จัดให้มีผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ | |
| จัดให้มีการผลิต นำเข้า หรือขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร ณ สถานที่ที่ระบุไว้ในใบอนุญาต | |
| จัดให้มีการผลิต นำเข้า ขาย ตลอดจนการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์สมุนไพร | |
| ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้เป็นไปโดยถูกต้องตามตำรับที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ | ถูก |
81 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการประจำสถานที่ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยกเว้นข้อใด ? | |
| ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้เป็นไปโดยถูกต้องตามตำรับที่ได้ขึ้นทะเบียน | |
| จัดให้มีบัญชีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร และบัญชีเกี่ยวกับการผลิต นำเข้า หรือขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร. | ถูก |
| ประจำอยู่ ณ สถานที่ผลิตตามที่ผู้รับอนุญาต | |
| ดูแลการปฏิบัติเกี่ยวกับการแสดงฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ | |
| ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ | |
82 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 การขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ไม่ใช้บังคับกับ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรบางอย่าง ยกเว้นข้อใด ? | |
| การผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรของโรงงานเอกชน เพื่อจำหน่ายให้กับร้านขายยาแผนโบราณ. | ถูก |
| ตัวอย่างผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่จะผลิตหรือนำเข้าเพื่อขอขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร | |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่จะผลิตหรือนำเข้าเพื่อการศึกษาวิจัย การวิเคราะห์ การแสดงนิทรรศการ หรือการบริจาค | |
| การผลิตหรือนำเข้าผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อประโยชน์ในการรักษาโรคเฉพาะราย | |
| วัตถุที่ใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร | |
83 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้มีอายุกี่ปี นับแต่วันที่ออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 10 ปี | |
| 4 ปี | |
| 6 ปี | |
| 3 ปี | |
| 5 ปี | ถูก |
84 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ให้ผู้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรยื่นคำขอรับใบแทนใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรต่อผู้อนุญาตภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 45 วัน | |
| 7 วัน | |
| 30 วัน | |
| 15 วัน | ถูก |
| 10 วัน | |
85 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ผู้อนุญาตมีอำนาจสั่งเพิกถอนใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้ เมื่อปรากฏว่ามีการกระทำดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด ? | |
| ผู้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม | |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรนั้นได้ เปลี่ยนไปเป็นวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้เป็นเครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง ยา ยาเสพติดให้โทษ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท วัตถุอันตราย หรืออาหาร | |
| ผู้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร ทำการแก้ไขรายการทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามคำสั่งของผู้อนุญาต. | ถูก |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรนั้น ไม่มีสรรพคุณตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับไว้ ไม่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค หรือ เป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรปลอม | |
| การโฆษณาผลิตภัณฑ์สมุนไพรนั้น ฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกาศกำหนด | |
86 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้งให้มีอายุกี่ปีนับแต่วันที่ออกใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้ง ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 4 ปี | |
| 3 ปี | |
| 5 ปี | ถูก |
| 6 ปี | |
| 10 ปี | |
87 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ในกรณีที่ใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้งสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ให้ผู้รับใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้งยื่นคำขอรับใบแทนใบรับแจ้งรายละเอียดหรือใบรับจดแจ้งต่อผู้อนุญาตภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทำลาย หรือลบเลือนในสาระสำคัญ ? | |
| 7 วัน | |
| 10 วัน | |
| 15 วัน. | ถูก |
| 45 วัน | |
| 30 วัน | |
88 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ในกระบวนการพิจารณาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ให้เจ้าหน้าที่ บุคคล องค์กร หรือหน่วยงานดังต่อไปนี้ ทำหน้าที่ประเมิน ตรวจสอบ และพิจารณาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยกเว้นข้อใด ? | |
| เจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมาย | |
| เจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา มอบหมาย | |
| เจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมาย. | ถูก |
| ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชน จากต่างประเทศ ที่ได้รับการขึ้นบัญชีจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา | |
| ผู้เชี่ยวชาญ องค์กรผู้เชี่ยวชาญ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชน ในประเทศ ที่ได้รับการขึ้นบัญชีจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา | |
89 | จากพรบ.ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ผลิตภัณฑ์สมุนไพรปลอมมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด ? | |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ในตำรับที่ขึ้นทะเบียนแจ้ง รายละเอียด จดแจ้ง หรือมีค่าคลาดเคลื่อนผิดจากเกณฑ์ที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกาศกำหนด | |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรหรือวัตถุที่ทำเทียมทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อให้เข้าใจว่าเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรแท้ | |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่สิ้นอายุตามที่ปรากฏไว้ในฉลาก | ถูก |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่แสดงชื่อผลิตภัณฑ์หรือแสดงวัน เดือน ปีที่สิ้นอายุ ซึ่งไม่ใช่ความจริง | |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่แสดงชื่อ เครื่องหมายของผู้ผลิต หรือที่ตั้งสถานที่ผลิตซึ่งไม่ใช่ความจริง | |
90 | จากพรบ. ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ผลิตภัณฑ์สมุนไพรผิดมาตรฐานมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด ? | |
| มีค่าความบริสุทธิ์หรือคุณลักษณะอื่นอันมีความสำคัญต่อคุณภาพผิดจากเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขึ้นทะเบียนหรือเกณฑ์มาตรฐานที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำ | |
| มีส่วนประกอบไม่ตรงตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับ แจ้งรายละเอียด หรือจดแจ้งไว้ | |
| มีปริมาณหรือความแรงของสาระสำคัญขาดหรือเกินจากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุดที่กำหนดไว้ในตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ขึ้นทะเบียน | |
| มีค่าคลาดเคลื่อนผิดจากเกณฑ์ที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกาศกำหนดแต่ไม่ถึงขนาดที่ระบุไว้ | |
| ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่สิ้นอายุตามที่ปรากฏไว้ในฉลาก | ถูก |
91 | จากพรบ. คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ใครมีอำนาจประกาศกำหนดตำรับยาแผนไทยหรือตำราการแพทย์แผนไทยที่มีประโยชน์หรือมีคุณค่าในทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขเป็นพิเศษ ให้เป็นตำรับยาแผนไทยของชาติหรือตำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก | |
| อธิบดีกรมการแพทย์ | |
| รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข. | ถูก |
| อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา | |
| ปลัดกระทรวงสาธารณสุข | |
92 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ผู้ใดประสงค์จะนำตำรับยาแผนไทยของชาติไปขอขึ้นทะเบียนตำรับยาและขออนุญาตผลิตยาตามกฎหมายว่าด้วยยา หรือนำไปทำการศึกษาวิจัยเพื่อปรับปรุงหรือพัฒนาเป็นตำรับยาใหม่เพื่อประโยชน์ในทางการค้า ต้องยื่นคำขอ ต่อใคร ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข | |
| เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา | |
| อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา | |
| อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก | |
| ผู้อนุญาต. | ถูก |
93 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ตำรับยาหรือตำราการแพทย์ใดที่อาจนำมาจดทะเบียน สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เพื่อขอรับการคุ้มครองและส่งเสริมตามที่กำหนดโดยบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ได้ โดยยื่นคำขอต่อนายทะเบียน ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ตํารับยาแผนไทยของชาติ | |
| ตํารับยาแผนไทยทั่วไป | |
| ตําราการแพทย์แผนไทยของชาติ | |
| ตําราการแพทย์แผนไทยทั่วไป | |
| ตํารับยาแผนไทยส่วนบุคคลหรือตําราการแพทย์แผนไทยส่วนบุคคล | ถูก |
94 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ห้ามมิให้รับจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ยกเว้นข้อใด ? | |
| ข.ตํารับยาแผนไทยทั่วไปหรือตําราการแพทย์แผนไทยทั่วไป | |
| ค. เป็นตำรับยาแผนไทยส่วนบุคคลที่ปรุงโดยไม่ใช้หลักการแพทย์แผนไทย เช่น ใช้สารสกัดจากพืช สัตว์ | |
| ก.ตํารับยาแผนไทยของชาติหรือตําราการแพทย์แผนไทยของชาติ | |
| ง.เป็นตำรับยาแผนไทยส่วนบุคคลที่ปรุงโดยไม่ใช้หลักการแพทย์แผนไทย เช่น จุลชีพที่มิใช้สารสกัดดั้งเดิมตามธรรมชาติ หรือใช้วิธีการแปรรูปที่มิใช้การแปรรูปอย่างหยาบ | |
| จ.ตํารับยาแผนไทยส่วนบุคคลหรือตําราการแพทย์แผนไทยส่วนบุคคลที่ใช้หลักการแพทย์แผนไทย | ถูก |
95 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 การขอจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยรายใดไม่ชอบด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง ให้นายทะเบียนมีคําสั่งให้ผู้ขอจดทะเบียนรายนั้นแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องภายในระยะเวลาเท่าใด ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| 45 วัน | |
| 30 วัน | ถูก |
| 15 วัน | |
| 7 วัน | |
| 10 วัน | |
96 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 คุณสมบัติของบุคคลซึ่งมีสิทธิจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ข้อใดไม่ถูกต้องที่สุด ? | |
| เป็นผู้สืบทอดตํารับยาแผนปัจจุบันหรือตําราการแพทย์แผนปัจจุบัน | ถูก |
| เป็นผู้คิดค้นตํารับยาแผนไทยหรือตําราการแพทย์แผนไทย | |
| เป็นผู้ปรับปรุงหรือพัฒนาตํารับยาแผนไทยหรือตําราการแพทย์แผนไทย | |
| เป็นผู้สืบทอดตํารับยาแผนไทยหรือตําราการแพทย์แผนไทย | |
| เป็นผู้มีสัญชาติไทย | |
97 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ในกรณีขอจดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยอย่างเดียวกันหลายคน ในวันเวลาเดียวกัน ถ้าตกลงกันไม่ได้ภายในเวลาที่นายทะเบียนกำหนด ให้คู่กรณีนำคดีไปสู่ศาลภายในกำหนดกี่วัน นับแต่วันสิ้นระยะเวลาที่นายทะเบียนกำหนด ? | |
| 90 วัน | ถูก |
| 15 วัน | |
| 30 วัน | |
| 60 วัน | |
| 45 วัน | |
98 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยตามพระราชบัญญัตินี้หัมีอายุเท่าใด ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลายี่สิบปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย | ถูก |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาสามสิบปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาสี่สิบปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาสิบปีนับแต่วันที่ผู้ทรงสิทธิถึงแก่ความตาย | |
99 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 สิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยแบบที่มีผู้ทรงสิทธิร่วม ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอายุเท่าใด ข้อใดถูกต้องที่สุด ? | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วมและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาสามสิบปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วมและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย | ถูก |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วมและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลายี่สิบปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วมและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาสิบปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย | |
| ตลอดอายุของผู้ทรงสิทธิร่วมและมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาสี่สิบปีนับแต่ผู้ทรงสิทธิร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย | |
100 | จากพรบ.คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ผู้ทรงสิทธิเท่านั้นมีสิทธิในตำรับยาแผนไทยหรือภูมิปัญญาในตำราการแพทย์แผนไทยที่ได้จดทะเบียนไว้ยกเว้นข้อใด ? | |
| การผลิตยาในตำรับยาแผนไทยหรือภูมิปัญญาในตำราการแพทย์แผนไทยที่ได้จดทะเบียนไว้ | |
| การเตรียมยาเฉพาะรายตามใบสั่งแพทย์ โดยผู้ประกอบโรคศิลปะแผนไทย | ถูก |
| การพัฒนาในตำรับยาแผนไทยหรือภูมิปัญญาในตำราการแพทย์แผนไทยที่ได้จดทะเบียนไว้ | |
| การปรับปรุงในตำรับยาแผนไทยหรือภูมิปัญญาในตำราการแพทย์แผนไทยที่ได้จดทะเบียนไว้ | |
| การใช้ศึกษาวิจัยในตำรับยาแผนไทยหรือภูมิปัญญาในตำราการแพทย์แผนไทยที่ได้จดทะเบียนไว้ | |