รส เย็น |
เป็นรสยาแก้ไข้ ในกองฤดูร้อน สำหรับแก้ในทาง เตโชธาตุ เช่น
เกสรดอกไม้หอมเย็น สัตตเขา เนสงเขี้ยว บอระเพ็ด ใบพิมเสน ใบมะยม ใบมะเฟือง จันทน์แดง จันทนา รากเหมือดคน น้ำประสานทอง ยาที่เข้าใบไม้ เกสรดอกไม้ เช่น แสลงกับโรค : โรคลม |
รส ร้อน |
เป็นรสยาแก้ไข้ ในกองฤดูฝน สำหรับแก้ในทาง วาโยธาตุ เช่น
พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง รากช้าพลู เถาสะค้าน กะเพรา กระเทียม กระชาย ใบแก้ว เจตพังคี ใบสมอทะเล หัสคุณทั้ง 2 ผักคราด เปล้าทั้ง 2 ยาที่เข้าเบญจกูล แสลงกับโรค : ไข้ที่มีพิษร้อน สตรีมีครรภ์อ่อน ๆ |
รส สุขุม |
เป็นรสยาแก้ไข้ ในกองฤดูหนาว สำหรับแก้ในทาง โลหิต เช่น
กฤษณา ขอนดอก กระลำพัก ชะลูด อบเชย หญ้าฝรั่น เตยหอม แฝกหอม ชะมดเชียง รากกรุงเขมา โกฐเทียน เกสรและเครื่องเทศที่มีกลิ่นหอม ยาที่เข้าโกฐเทียน เช่น แสลงกับโรค : ไข้ที่มีพิษร้อนจัด |
ต่างกันที่ ขนาด |
|
ต่างกันที่ สี |
|
ต่างกันที่ รส |
|
ต่างกันที่ ชนิด (เพศผู้ เพศเมีย) |
|
ต่างกันจาก ถิ่นที่เกิด |
|
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1 ตรี ผลา | แก้ปิตตะ วาตะ เสมหะ คิมหันตฤดู | |
2 ตรี สมอ | แก้ไข้ แก้เสมหะ บำรุงธาตุ ผายธาตุ รู้ถ่ายรู้ปิดเอง | |
3 ตรี ฉินทลามกา | บำรุงธาตุ ขับลม แก้ไข้เพื่อเสมหะ ถ่ายโลหิตและน้ำเหลืองเสีย | |
4 ตรี กฎุก | แก้วาตะ เสมหะ ปิตะ วสันตฤดู | |
5 ตรี สันนิบาตผล | แก้ไข้สันนิบาต แก้ในกองลม บำรุงธาตุ แก้ปถวีธาตุ 20 ประการ | |
6 ตรี สัตตกุลา | บำรุงไฟธาตุ ขับลมในลำไส้ แก้อาการธาตุ 10 ประการ แก้อาเจียน | |
7 ตรี อากาศผล | แก้ตรีสมุฎฐาน แก้แน่นในอก แก้โลหิตเป็นพิษ แก้ไข้จับ ปลูกธาตุ | |
8 ตรี สาร |
| แก้เสมหะ ปิตตะ วาตะ เหมันตฤดู |
9 ตรี เสมหะผล | แก้เสมหะ แก้สะอึก แก้เส้นอัมพฤกษ์ อัมพาต แก้ลม | |
10 ตรี ปิตตะผล | แก้จตุกาลเดโช บำรุงธาตุ แก้ลม แก้เส้นประสาทพิการ ปวดเมื่อยตามเส้น | |
11 ตรี วาตะผล | แก้ในกองวาตะ เสมหะ แก้แน่นในอก แก้เลือด บำรุงไฟธาตุ | |
12 ตรี กาฬพิษ | บำรุงธาตุ บำรุงกำหนัด ขับลม แก้ไข้สันนิบาต แก้เลือดเสีย | |
13 ตรี ทิพยรส | บำรุงธาตุ บำรุงตับ บำรุงปอด บำรุงหัวใจ บำรุงกระดูก บำรุงครรภ์รักษา ทำให้ชุ่มชื่น | |
14 ตรี ญาณรส | แก้้ไข้ ดับพิษร้อน ขับปัสสาวะ บับเสมหะ บำรุงไฟธาตุ เจริญอาหาร | |
15 ตรี มธุรส | บำรุงธาตุ แก้สะอึก แก้ไข้ตรีโทษ ผายธาตุ เจริญอาหาร | |
16 ตรี สินธุรส | แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้พิษไข้พิษฝี แก้ดีพิการ แก้นิ่ว ขับปัสสาวะ | |
17 ตรี พิษจักร | แก้ลม บำรุงโลหิต แก้ธาตุพิการ แก้พิษเลือด จุกเสียด | |
18 ตรี คันธวาต | แก้ธาตุพิการ แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ริดสีดวงทั้ง 9 แก้ไอหืด | |
19 ตรี เกสรเพศ | แก้ไข้เพื่อปถวีธาตุกำเริบ, ทำให้ตัวเย็น, แก้คลื่นเหียนอาเจียน | |
20 ตรี เกสรมาศ | บำรุงกำลัง แก้ท้องร่วง บำรุงธาตุ คุมธาตุ | |
21 ตรี เพชรสมคุณ | ถ่ายเสมหะ น้ำเหลือง แก้กระหายน้ำ แก้กำเดา แก้หนองใน แก้ปวดศีรษะ บำรุงกำลัง | |
22 ตรี ธารทิพย์ | บำรุงน้ำนม แก้กระษัย ฆ่าเชื้อคุดทะราด แก้ท้องร่วง | |
23 ตรี สุคนธ์ | แก้ไข้สันนิบาต แก้ไข้เซื่องซึม แก้ไข้จุกเสียด แก้ริดสีดวง | |
24 ตรี ธาตุ |
| แก้ธาตุพิการ แก้ลม แก้เสมหะ แก้ไข้ แก้วิงเวียน บำรุงดวงจิต |
25 ตรี ทุรวสา | แก้บิด บำรุงน้ำดี แก้ลม แก้พิษตานซาง | |
26 ตรี อมฤต | แก้ไข้, แก้ร้อนในกระหายน้ำ, ขับปัสสาวะ, บำรุงธาตุ, เจริญอาหาร | |
27 ตรี ผลธาตุ | แก้ไข้ตัวร้อน แก้กำเดา บำรุงธาตุไฟ แก้ฟกบวมปวดเมื่อย | |
28 ตรี สุรผล | แก้ลมสัมปะชวน บำรุงธาตุ โลหิต แก้ลมสลบ แก้ลมในท้องทำให้ปวดท้องจุกเสียดแน่น | |
29 ตรี ผลสมุฎฐาน | แก้สมุฏฐานแห่งตรีโทษ ขับลมต่าง ๆ แก้อาเจียน แก้โรคไตพิการ | |
30 ตรี สุคติสมุฏฐาน |
| แก้ไข้พิษต่าง ๆ บำรุงไฟธาตุ คุมธาตุ |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัด จตุกาลธาตุ |
|
การจำกัดจำนวนตัวยา แก้ธาตุตามเวลา 4 อย่าง สรรพคุณ แก้ธาตุพิการ บำรุงธาตุ แก้จุกเสียด แก้เสมหะ แก้โลหิตในท้อง ขับลมในท้อง แก้ไข้ |
2. พิกัด จตุทิพยคันธา |
|
การจำกัดจำนวนยาที่มีกลิ่นหอมดังกลิ่นทิพย์ 4 อย่าง สรรพคุณ บำรุงธาตุ บำรุงหัวใจ แก้เสมหะ แก้ลมปั่นป่วน แก้พรรดึก |
3. พิกัด จตุผลาธิกะ |
|
การจำกัดจำนวนผลไม้ให้คุณ 4 อย่าง สรรพคุณ ถ่ายไข้ ถ่ายลม แก้โรคตา บำรุงธาตุ ผายธาตุ รู้ถ่ายรู้ปิดเอง (รู้ปิดรู้เปิด) |
4. พิกัด จตุลาตะผล |
|
การจำกัดจำนวนตัวยาแก้ลมได้ผล 4 อย่าง สรรพคุณ แก้ไข้พรรดึก แก้ตรีสมุฎฐาน ขับผายลม บำรุงธาตุ แก้ลมในกอง ริดสีดวง |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัดเบญจกูล (ดี ช้า สะ เจ ขิง) |
|
กระจายกองลมและโลหิต แก้คูถเสมหะ แก้ลมพานไส้ บำรุงกองธาตุทั้ง 4 ให้ บริบูรณ์ |
2. พิกัดเบญจโลกวิเชียร (คน ชิง เท้า ย่า มะเดื่อชุมพร) |
|
แก้ไข้ แก้ไข้เพื่อดี เพื่อโลหิต แก้ไข้พิษ ไข้เหนือ ถอนพิษผิดสำแดง แก้ไข้หัวลม แก้ปวดเมื่อย |
3. พิกัดเหล็กทั้ง 5 (มือ ขี้ เถา สาก สนิม) |
|
แก้พิษโลหิตทั้งบุรุษและสตรี บำรุงกำลังให้แข็งแรง แก้กฒัย ขับปัสสาวะ แก้ตับทรุด |
4. พิกัดเกสรทั้ง 5 (ลิ พิ ภี บุน บัว) |
|
แก้ร้อนใน กระหายน้ำ ชูกำลัง บำรุงหัวใจ แก้ไข้จับ แก้ลมวิงเวียน แก้น้ำดี ให้เจริญอาหาร แก้โรคตา |
5. พิกัดเบญจ โลธิกะ (ชะมด สี ดำ แดง ขาว) |
|
บำรุงแก้ไข้ แก้ไข้เพื่อ ดี แก้ไข้รัตตะ ปิตตะโรค แก้ลมวิงเวียน แก้พิษทั้งปวง |
6. พิกัดเบญจโกฐ (บ ข ส จุฬา เชียง) |
|
แก้ไข้ แก้หืด แก้ไอ กระจายลม บำรุงโลหิต แก้ลมในกองธาตุ |
7. พิกัดเบญจเทียน (ดำ แดง ขาว ข้าวเปลือก ตั๊กแตน) |
|
แก้ลม เสมหะ และ ดี ระคนกัน แก้พิษโลหิต แก้ทางปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้มุตกิต บำรุงธาตุ บำรุงกำลัง |
8. พิกัดจันทน์ทั้ง 5 (ชะมด แดง ขาว เทศ ทนา) |
|
แก้ไข้เพื่อ ดี และ โลหิต แก้ร้อนในกระหายน้ำ บำรุงตับ ปอด แก้พยาธิบาดแผล |
9. พิกัดเบญจ อมฤต (นม ส้ม อ้อย ผึ้ง เนย) |
|
บำรุงกำลัง บำรุงไฟธาตุ ชับลมให้แล่นทั่วกาย แก้ไช้ตรีโทษ ผายธาตุ แก้กำเดาและลม กระจายเสมทะ |
10. พิกัดเบญจ ผลธาตุ (กา กาด เกียด หมู หัวเปราะ) |
|
แก้ธาตุพิการ บำรุงธาตุ บำรุงกำลัง เจริญไฟธาตุ แก้ทางเดินปัสสาวะ แก้ตับทรุด |
11. พิกัดเบญจ มูลน้อย (เกล็ดหอย 2 อึก ขื่น แดง) |
|
แก้ไข้ ร้อนในกระหายน้ำ ดับพิษร้อน ขับเสมหะ ขับเลือดลม แก้น้ำลายเหนียว |
12. พิกัดเบญจ มูลใหญ่ แก้สมุฏฐานทั้ง 3 มี 5 อย่าง (กา คัด แค ไย มะตูม) |
|
แก้พิษฝี แก้หืดหอบไอ แก้ลม แก้เสมหะ บำรุงไฟธาตุ แก้เส้นเอ็นพิการ แก้ไข้สันนิบาต ทศมูลใหญ่ = เบญจมูลน้อย + ใหญ่ |
13. พิกัด ตานทั้ง 5 (ขโมย โต ดำ เสี้ยน หม่อน) |
|
ดับพิษตานซาง ขับพยาธิทุกชนิด แก้อุจจาระธาตุพิการ บำรุงเนื้อหนัง |
14. พิกัด ดีทั้ง 5 (งู หมู วัว จระเข้ ตะพาบ) |
|
ระบายพิษไข้ ทำให้ยาแล่นเร็ว บำรุงโลหิต มักใช้เป็นยากระสายแก้โรคทั้ง 3 สมุฏฐาน คือ ดี โลหิต และธาตุลมพิการ |
15. พิกัด เกลือทั้ง 5 (พิก วิก ฝ่อ สิน สมุทร์) |
|
แก้ไข้พรรดึก แก้ท้องมาน แก้เสมหะ แก้บิดมูกเลือด บำรุน้ำเหลือง ชำระเมือกมันในลำไส้ |
16. พิกัด บัวทั้ง 5 (บุษย์ บรรณ ลิน จง นิล) |
|
บัว นิลอุบล ฝาดหอมเย็น |
17. พิกัด โหราทั้ง 5 (อมฤต มิคสิงคลี บอน สุนัข ไก่) |
|
โหรา เดือยไก่ (ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ได้) |
18. พิกัด เบญจโลหะ (ทองทั้ง 5 โหลง หนาม ใบมน กวาว พันชั่ง) |
|
ราก ทองพันชั่ง |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัด ด่างไม้ 6 อย่าง (สำ ขี้ ตุ่ม หนอน ตาล พันงู) |
|
ชำระล้างสำไส้ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้โรคกษัย (คือเอาไม้มาเผาเป็นถ่าน) |
2. พิกัด โหรา 6 อย่าง (ผักกูล เหนียว กระบือ เนื้อ ใบกลม มหุรา) |
|
แก้โรคพยาธิผิวหนัง โรคกลากเกลื้อน |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัด สัตตะโกฐ |
|
แก้ไข้จับ แก้ไข้เพื่อเสมหะ หืดไอ แก้โรคในปอด ชูกำลัง |
2. พิกัด สัตตะเทียน |
|
แก้ลม เสมหะและดีระคนกัน แก้พิษโลหิต ขับลม แก้อาเจียนบารุงธาตุ แก้พรรดึก แก้ลมครรภ์รักษา |
3. พิกัด สัตตะเกสร |
|
แก้ร้อนในกระหายน้า ชูกาลัง บารุงหัวใจ แก้ไข้จับ แก้ลมวิงเวียน แก้ไข้เพื่อเสมหะและโลหิต แก้น้าดี |
4. พิกัดสัตตเขา |
|
ถอนพิษ ถอนพิษผิดสาแดง แก้พิษไข้ร้อน ไข้พิษ ไข้กาฬ |
5. พิกัดสัตตโลหะ |
|
แก้โรคดี เสมหะ และลมที่เป็นพิษ แก้ริดสีดวงทวาร ล้างลำไส้ |
6. พิกัดสัตตปรเมหะ |
|
ขับเสมหะ โลหิต และลม แก้อุจจาระธาตุลามก ชำระมลทินโทษให้ตก ชำระเมือกมันในลำไส้ |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัดดอกส้ม 8 ประการ (มีกลิ่นหอม แก้เรื่องลมได้ดี) |
|
แก้ลมกองละเอียดและกองหยาบ แก้เสมหะ แก้โลหิต |
2. พิกัดผิวส้ม 8 ประการ |
|
แก้ลมกองละเอียดและกองหยาบ แก้เสมหะ แก้โลหิต |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัด เนาวเทียน |
|
แก้ลม เสมหะ และดีระคนกัน แก้พิษโบหิต แก้ทางปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้มุตกิต บำรุงธาตุ บำรุงกำลัง แก้ลมในท้อง แก้พรรดึก แก้ลมครรภ์รักษา |
2. พิกัด เนาวโกฐ |
|
แก้ไข้จับ แก้ไข้เพื่อเสมหะ หืดไอ แก้ไรคใอด แก้โรคในปาก ชูกำลัง บำรุงโลหิต แก้ลมในกอลธาตุ แก้ไข้เรื้อรัง แก้หอบสะอึก |
3. พิกัด เนาวเกสร เกสรทั้ง 9 |
|
แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้ไข้จับ แก้ไข้เพื่อลม แก้ไข้เพื่อปภวีธาตุ ให้เจริญอาหาร แก้โรคตา บำรุงหัวใจ แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้ไข้ แก้ลมวิงเวียน บำรุงตับ ปอด เจริญอาหาร |
4. พิกัด เนาวโลหะ |
|
แก้โรคดี เสมหะ และลมที่เป็นพิษ ล้างลำไว้ แก้โรคหนองใน แก้ริดสีดวงทวาร ดับพิษไข้ |
5. พิกัดเนาวหอย (รสเค็ม ช่วยเรืองไต) |
|
ขับลมในลำไส้ และล้างลำไส้ แก้โรคกระษัย แก้ไตพิการ ขับปัสสาวะบำรุงกระดูก ช่วยเรื่องตามัวได้ด้วย |
6. พิกัด เนาวเขี้ยว (เย็น ช่วยเรื่องดับพิษ) เหมือนเขา |
|
เขียวดับพิษในกระดูก เขาดับพิษไข้ ดับพิษในกระดูก ในข้อ ในเส้นเอ็น รวมถึงการบวมภายนอก ถอนพิษผิดสาแดง ถอนพิษไข้ แก้ไข้พิษ ไข้กาฬตักศิลา |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัด ทศ กุลาผล |
|
แก้ไข้เพื่อดี และเสมหะ ขับลมในลาไส้ บารุงธาตุ บารุงปอด แก้รัตตะปิตตะโรค บารุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น |
2. พิกัด ทศ มูลใหญ่ |
|
แก้ทุราวะสา บารุงน้านม แก้ช้ารั่ว แก้สะอึก แก้ผอมเหลือง แก้ริดสีดวง แก้กองสันนิบาต แก้ไข้อันมีพิษ |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. พิกัด โกฐ พิเศษ |
|
แก้โรคในปากในคอ ขับพยาธิ แก้พิษสัตว์กัดต่อย แก้ไข้ในกองอติสาร ขับลมในลำไส้แก้หนองใน ขับระดูร้าย แก้ริดสีดวงทวาร |
2. พิกัด เทียน พิเศษ |
|
แก้ลม เสมหะดีละคนกัน แก้พิษโลหิต แก้ดีพิการ แก้ลมขึ้นเบื้องสูงทำให้หูอื้อตาลาย แก้ไข้ แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้ลม |
3. พิกัด บัว พิเศษ (มี 6 สิ่ง) |
|
แก้ไข้อันเกิดแก่ธาตุทั้ง 4 แก้ลม เสมหะ โลหิต และบำรุงกำลัง |
4. พิกัด เกลือ พิเศษ (มี 7 สิ่ง) |
|
แก้โรคในปากในคอ ขับพยาธิ แก้พิษสัตว์กัดต่อย แก้ไข้ในกองอติสาร ขับลมในลำไส้แก้หนองใน ขับระดูร้าย แก้ริดสีดวงทวาร |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
1. มหาพิกัดตรี ผลา (ฤดูร้อน) |
|
เปรียบเทียบส่วนเพิ่มลดของตัวยา เมื่อใช้แก้ในกอง ปิตตะ วาตะ เสมหะ และ อุจจาระธาตุ ปิตะ เภก 12 ไทย 8 ป้อม 4 วาตะ ไทย 12 ป้อม 8 เภก 4 เสมหะ ป้อม 12 เภก 8 ไทย 4 |
2. มหาพิกัดตรี กฏุก (ฤดูฝน) |
|
เปรียบเทียบส่วนเพิ่มลดของตัวยา เมื่อใช้แก้ในกอง วาตะ ปิตตะ เสมหะ และ อุจจาระธาตุ ปิตะ ขิง 12 พริก 8 ดี 4 วาตะ พริก 12 ดี 8 ขิง 4 เสมหะ ดี 12 ขิง 8 พริก 4 |
3. มหาพิกัดตรี สาร (ฤดูหนาว) |
|
เปรียบเทียบส่วนเพิ่มลดของตัวยา เมื่อใช้แก้ในกอง เสมหะ วาตะ ปิตตะ และ อุจจาระธาตุ ปิตะ เพลิง 12 ค้าน 8 พลู 4 วาตะ ค้าน 12 พลู 8 เพลิง 4 เสมหะ พลู 12 เพลิง 8 พลู 4 |
ชื่อ | สปก | สรรพคุณ |
---|---|---|
มหาพิกัด เบญจกูล |
|
ใช้แก้เป็นสาธารณะทั่วไปในกองธาตุ สมุฏฐานทั่วไป มิได้เว้น (แก้ในกองสมุฏฐานทั้งปวง) |
มหาพิกัด อภิญญานเบญจกูล |
|
ใช้แก้ในกองธาตุ อภิญญาณเบญจกูล คือ สำแดงโทษให้ อุจจาระมีสีต่าง ๆ ถ้า ถ่ายเป็นสี ดำ เกิดแต่กอง ปัถวีธาตุ (ดิน) ถ้า ถ่ายเป็นสี แดง เกิดแต่กอง อาโปธาตุ (น้ำ) ถ้า ถ่ายเป็นสี ขาว เกิดแต่กอง วโยธาตุ (ลม) ถ้า ถ่ายเป็นสี เขียว เกิดแต่กอง เตโชธาตุ (ไฟ) |
มหาพิกัด โสฬลเบญจกูล | ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ (16 8 6 4 2)
|
แบ่งออกเป็น 4 ฐาน ใช้แก้ตามกองธาตุ คือ กอง ธาตุปัถวี อาโป วาโย เตโช |
มหาพิกัด ทศเบญจกูล | ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ (10 10 10 10 10)
|
แก้ในโรคของสตรี พิกัดนี้ประจำ เนาวทวาร ซึ่งกล่าวไว้แล้วในคัมภีร์ธาตุบรรจบ โดยสงเคราะห์ เนาวทวารสตรี 1 รวมกันเข้าเป็น 10 ซึ่งทศเบญจกูลจะมีตัวยาในส่วนละเท่า ๆ กัน สรุปไว้ในตาราง
นวทวาร : น. ช่องทั้ง 9 แห่งร่างกาย ประกอบด้วย ตา 2 หู 2 จมูก 2 ปาก 1 ทวารเบา 1 ทวารหนัก 1 |
มหาพิกัด ทศเบญจขันธ์ | ดิน ไฟ ลม น้ำ อากาศ (5 4 3 2 1)
|
ใช้แก้ในกองอสุรินธัญญาณธาตุ จตุสมาสรรพ คือ ธาตุสำแดงโทษในอุจจาระมีกลิ่น |
สปก | สรรพคุณ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
มี 4 มหาพิกัดโดยใช้แก้ในกองธาตุทั้ง 4 ที่ กำเริบ หย่อน พิการ โดยราศีและตัวระคน รวมถึงฤดู 6 ก็เป็นเหตุให้ธาตุทั้ง 4 กำเริบ หย่อน พิการ ประกอบด้วยตัวยา 6 สิ่ง โดยจัดตัวยาจากตัวยา 9 ชนิด ได้แก่ โดยมีสัดส่วนยา 3 กลุ่ม ดังนี้ |
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การจัดตัวยามีสัดส่วนแตกต่างกันไปตาม สมุฎฐาน
|